Page 188 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 188

4-24





                                3.4)   ควรสงเสริมการซื้อขายในตลาดลวงหนา สรางเครือขายเชื่อมโยงการกระจาย

                  ผลผลิตของกลุมเกษตรกรกับผูประกอบกิจการพืชไร เพื่อความมั่นคงทางรายไดของเกษตรกร

                  ที่ปลูกพืชในเขตการใชที่ดินที่กําหนด
                                3.5)   ควรใหการสนับสนุนการผลิตที่ตรงกับความตองการของผูประกอบการ

                  เพื่อประสานความเชื่อมโยงระหวางผูประกอบการกับเกษตรกรในเขตการใชที่ดินปลูกพืช

                                3.6)   ควรสงเสริมและพัฒนาการแปรรูปใหมีความหลากหลาย เพื่อเปนการเพิ่มมูลคา

                  โดยตองคํานึงถึงความตองการของตลาดเปนหลัก
                                3.7)   ควรปรับโครงสรางการผลิตสูการเพิ่มมูลคาของสินคารวมทั้งสนับสนุนใหเกิด

                  ความเชื่อมโยงระหวางสาขาการผลิต เพื่อทําใหมูลคาการผลิตสูงขึ้น

                            4)  ขอเสนอแนะดานอื่นๆ ควรมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้

                            4.1)   การกําหนดเขตการใชที่ดินจะบรรลุเปาหมายตามที่วางไวจําเปนตองมีมาตรการตางๆ
                  มารองรับ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติจริง มาตรการดังกลาวเกี่ยวของกับการบริหารจัดการ การพัฒนาโครงสราง

                  พื้นฐานการตลาด การรวมกลุมเกษตรกร และดานกฎหมาย

                                4.2)   ผลักดันใหมีการนําเขตการใชที่ดินเพื่อการปลูกพืชที่จัดทําไว ไปใชใหบรรลุ
                  วัตถุประสงคควรมีการจัดทําประชาพิจารณ เพื่อรับทราบแนวคิดและทัศนคติของเกษตรกรและผูที่เกี่ยวของ

                  กอนการดําเนินงาน

                                4.3)   ควรศึกษาการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน
                  บริเวณที่มีความลาดชันสูงกวา เพื่อจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมในแตละพื้นที่ และใชเปน

                  ฐานขอมูลดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะในเขตการพื้นที่เสี่ยงตอการสูญเสียดิน

                            4.4)   หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ  เชน  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
                  กรมสงเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร ควรจัดหาพืชพันธุดีและมีคุณภาพ ตลอดจนปจจัยการผลิต

                  จัดจําหนายใหกับเกษตรกรไดทันกับเวลาที่ตองการใช

                            4.5)   การพัฒนาระบบโลจิสติกสและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อใชในการบริหาร

                  การจัดการตั้งแตการปลูก การเก็บเกี่ยว การขนสงใหมีประสิทธิภาพเปนระบบ โดยดําเนินการจัดสรรโควตา
                  ไดตั้งแตวันที่ปลูก เพื่อเปนการลดตนทุนโดยรวม และลดความเสียหายคุณภาพของสินคาเกษตร

                                สําหรับขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังที่กลาวมาแลวนั้น สามารถนํามาปรับใชในทางปฏิบัติ

                  ใหเกิดเปนรูปธรรมได โดยกําหนดเปนมาตรการเสริมเชิงบังคับและจูงใจ เพื่อสนับสนุนใหแผนการใชที่ดิน
                  ลุมน้ํา มีผลในทางปฏิบัติและบรรลุเปาหมายตอไปในอนาคต










                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193