Page 185 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 185

4-21





                  จังหวัดปตตานี พื้นที่สวนที่ 3 อยูระหวางลุมน้ําปตตานีและลุมน้ําแมน้ําสายบุรี มีลําน้ําหลัก 2 สาย คือ

                  คลองยะหริ่งและคลองบางมะรวด คลองยะหริ่งมีตนกําเนิดจากเทือกเขาทางดานทิศตะวันออกเฉียงใต

                  ของลุมน้ํา ไหลขึ้นมาทางทิศเหนือสูพื้นที่ราบในเขตอําเภอยะหริ่ง ไหลผานตัวอําเภอยะหริ่ง ออกสูอาวบางปู
                  หรืออาวปตตานีที่บานบางปู อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี สวนคลองบางมะรวดเปนคลองที่เล็กและสั้นกวา

                  คลองยะหริ่ง ตนกําเนิดแยกจากคลองชลประทานทางดานทิศใตแลวไหลลงสูอาวไทยที่บานบางมะรวด

                  อําเภอปะนาเระ จังหวัดปตตานี สภาพโดยทั่วไปเปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเปนเนินเขา

                  บริเวณที่ดอน มีดินรวน หรือดินรวนปนเหนียว ซึ่งเหมาะแกการเพาะปลูกพืชไร ไมยืนตน ไมผล สวนพื้นที่ราบ
                  เปนน้ําพัดพามีบริเวณไมมากนัก เหมาะกับการทํานา ปญหาของดินที่พบในลุมน้ําเกิดจากความอุดมสมบูรณ

                  ของดินต่ําและพบดินตื้นที่มีชั้นของกอนหินหรือเศษลูกรังปน ทําใหมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                  ของพืช และพบปญหาการชะลางพังทลายเนื่องจาก สภาพพื้นที่สูงชัน และมีการใชที่ดินไมสอดคลอง
                  กับสมรรถนะที่ดิน

                             ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีประชากรรวม 471,443 คน จํานวนบาน 118,533

                  หลังคาเรือน จํานวนประชากรเฉลี่ย 4 คนตอหลังคาเรือน ความหนาแนนของประชากร 333 คนตอตารางกิโลเมตร

                  ประชากรสวนใหญหรือรอยละ 86.27 ของจํานวนประชากรทั้งลุมน้ําสาขาอาศัยอยูในชนบทหรือนอกเขตเทศบาล
                  จํานวนประชากรนับตั้งแตป 2551-2556 มีอัตราเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 1.16 ตอป ขนาดเนื้อที่ถือครอง

                  ตอครัวเรือนเฉลี่ย 9.92 ไรตอครัวเรือน ลักษณะการใชที่ดินสวนใหญปลูกไมผลและไมยืนตน รอยละ 52.52

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                จากการสํารวจสภาวะเศรษฐกิจสังคม พบวา พืชเศรษฐกิจที่ปลูกในพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  ภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีรายไดคุมคาการลงทุน เพราะเกษตรกรยังคงมีกําไร การใชประโยชนที่ดิน

                  สวนใหญปลูกปาลมน้ํามัน มีระดับความเหมาะสมของที่ดินทางเศรษฐกิจปานกลาง (S2)
                                   การกําหนดเขตการใชที่ดินตามศักยภาพและกําลังผลิตของพื้นที่ สามารถกําหนด

                  แผนการใชที่ดินของพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ออกเปน 5 เขต

                                 1)  เขตพื้นที่ปาไม มีพื้นที่ 74,020  ไร หรือรอยละ 8.11 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                  แบงเปน 2 เขต ไดแก

                                      1.1) เขตพื้นที่ปาอนุรักษ พื้นที่ 48,177 ไร หรือรอยละ 5.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                      1.2) เขตพื้นที่ปาเศรษฐกิจ พื้นที่ 25,843 ไร หรือรอยละ 2.83 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                2)  เขตเกษตรกรรม มีพื้นที่ 717,144 ไร หรือรอยละ 78.58  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                  แบงเปน 5 เขต ไดแก

                                      2.1) เขตเกษตรพัฒนา มีพื้นที่ 236,909 ไร หรือรอยละ 25.96 ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขาประกอบดวย เขตทํานา พื้นที่ 185,913 ไร หรือรอยละ 20.38 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมผล





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190