Page 186 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 186

4-22





                  พื้นที่ 11,900 ไร หรือรอยละ 1.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมยืนตน พื้นที่ 39,096 ไร หรือรอยละ 4.28

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                      2.2) เขตเกษตรกาวหนา มีพื้นที่ 302,711 ไร หรือรอยละ 33.17 ของพื้นที่ลุมน้ํา
                  สาขาประกอบดวย  เขตทํานา พื้นที่ 34,777 ไร หรือรอยละ 3.81 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา  เขตปลูกไมผล

                  พื้นที่ 57,229 ไร หรือรอยละ 6.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมยืนตน พื้นที่ 210,635 ไร หรือรอยละ

                  23.08 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                      2.3) เขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร มีพื้นที่ 103,797 ไร หรือรอยละ 11.37 ของพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขา ประกอบดวย เขตทํานา พื้นที่ 57,473 ไร หรือรอยละ 6.29 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมผล

                  พื้นที่ 3,537 ไร หรือรอยละ 0.39 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมยืนตน พื้นที่ 41,251 ไร หรือรอยละ 4.52

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตทุงหญา พื้นที่ 1,536 ไร หรือรอยละ 0.17 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                      2.4) เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา มีพื้นที่ 26,921 ไร หรือรอยละ 2.95 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                      2.5) เขตพื้นที่คงสภาพปาไมนอกเขตปาไมตามกฎหมาย มีพื้นที่ 46,806 ไร

                  หรือรอยละ 5.13 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ประกอบดวย เขตปาสมบูรณ และเขตฟนฟูปาไม

                                3)  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีพื้นที่ 84,802 ไร หรือรอยละ 9.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                 4)  เขตแหลงน้ํา มีพื้นที่ 16,697 ไร หรือรอยละ 1.83 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                 5)  เขตพื้นที่ชุมน้ํา มีพื้นที่ 12,953 ไร หรือรอยละ 1.42 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                6)  เขตพื้นที่อื่นๆ มีพื้นที่ 6,896 ไร หรือรอยละ 0.76 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                         4.3.2  ขอเสนอแนะ

                             1)  ขอเสนอแนะดานนโยบาย

                              1.1) ปรับปรุงและฟนฟูความอุดมสมบูรณของดินเพื่อเกษตรกรรม แนวทางดําเนินการ

                  ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดิน รวมทั้งเปนการ
                  เพิ่มผลผลิตการเกษตรใหสูงขึ้น  เพราะในสภาวการณปจจุบันพื้นที่เกษตรกรรมของไทย  ประสบปญหา

                  ความเสื่อมโทรมของดินเพราะขาดการอนุรักษดินและน้ํา  ทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน

                  ตลอดจนดินขาดความอุดมสมบูรณไมเหมาะสมตอการปลูกขาว
                                1.2) ในระยะยาวผลักดันใหมีการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมใหมีผลในทางปฏิบัติ

                  อยางจริงจัง เพราะการจัดหาที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรดวยการปฏิรูปที่ดินถือวา เปนแนวทางสําคัญที่จะ

                  แกปญหาเกษตรกรรมของไทยอยางยั่งยืน

                                สําหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในเขตปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตนนั้น ควรมีการจัดการ
                  พื้นที่เพื่อใหเหมาะสมกับการผลิตพืช ในแตละเขตการใชที่ดิน โดยคํานึงถึงขอเสนอแนะและมาตรการตางๆ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191