Page 184 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 184

4-20





                  4.2 ปญหาและอุปสรรค

                         4.2.1 ความไมพรอมของเครื่องมือและอุปกรณที่จะใชในการทํางาน เพราะวาอุปกรณหรือ

                  เครื่องมือบางชนิดใชมานานและมีราคาสูง และยังรวมถึงยานพาหนะที่จะเขาไปในพื้นที่ดวย เพราะยานพาหนะ

                  จะตองมีสภาพที่พรอมในการบุกเบิกเขาพื้นที่ตางๆ ไมวาจะเปนที่สูง หรือที่หุบเขา และที่ๆมีสภาพภูมิอากาศ
                  ไมเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงาน

                         4.2.2 ความไมพรอมของอัตรากําลังของเจาหนาที่ เนื่องจากบุคลากรดานนี้ไมมีผูชวยทํางานสํารวจ

                  วางแผนการใชที่ดิน และยังมีอยูนอยมาก รวมไปถึงมหาวิทยาลัยตางๆ ไมสามารถผลิตบุคลากรที่มีความรู
                  ความชํานาญไดทันตามความตองการในการดําเนินงาน เนื่องจากงานสํารวจและจําแนกดิน จําเปนตองมี

                  ความรูหลายดาน

                         4.2.3 สภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนภูเขา เพราะกอนที่จะเดินทาง

                  ไปทํางานมีระยะทางไกล และตองมีการศึกษาเสนทางใหอยางดี เพื่อที่จะประหยัดคาใชจายตางๆ
                  ใหมากที่สุด

                         4.2.4 เสนทางคมนาคมยังไมสะดวก กอปรกับพื้นที่มีความลาดชัน เสนทางคดโคง เปนอันตราย

                  อยางมากในการเดินทางในการปฏิบัติงาน บางครั้งทัศนวิสัยไมดี หรือฝนตก หรือมีหมอกควัน
                         4.2.5 แรงงานในปจจุบันการหาแรงงานไดยากมาก เนื่องจากบางชวงเปนฤดูการผลิตหรือเก็บเกี่ยว

                  และวัยของแรงงานสวนใหญเปนผูสูงอายุ เพราะแรงงานเปนตัวสําคัญที่จะไดขอมูลมาทําการศึกษา

                  ถาขาดไปจะทําใหผลงานที่ไดชา ไมทันกําหนดเวลาที่วางไวได เพราะบุคลากรแตละคนที่ออกพื้นที่มี
                  หนาที่ที่ตองทําหลายอยาง และมีขอจํากัดในการทํางาน


                  4.3 สรุปและขอเสนอแนะ
                         4.3.1 สรุป

                             ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง (2110) มีพื้นที่ 1,460 ตารางกิโลเมตร หรือ 912,512 ไร

                  มีสภาพภูมิประเทศ สวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ สูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง

                  1-757 เมตร โดยสภาพภูมิประเทศของลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ประกอบดวยพื้นที่ลุมน้ํา

                  3 พื้นที่แยกจากกัน โดยมีพื้นที่ลุมน้ําคลองเทพาและลุมน้ําปตตานีแทรกระหวางกลาง ดังนี้ พื้นที่สวนที่ 1
                  เปนพื้นที่ลุมน้ําขนาดเล็กอยูระหวางลุมน้ําคลองนาทวีและลุมน้ําคลองเทพา ในเขตอําเภอเทพา มีตนน้ํา

                  อยูทางทิศใตซึ่งเปนภูเขาเตี้ยๆ ลําน้ําในพื้นที่เปนคลองขนาดเล็กสายสั้นๆ ระบายลงสูพรุตรงกลางพื้นที่ลุมน้ํา

                  แลวจึงระบายออกสูอาวไทยทางดานทิศเหนือ พื้นที่สวนที่ 2 อยูระหวางลุมน้ําเทพาและลุมน้ําปตตานี หรือ
                  เรียกอีกชื่อหนึ่งวา ลุมน้ําคลองทาเรือ  มีคลองทาเรือเปนลําน้ําสายหลักตนน้ําอยูทางทิศใต ซึ่งเปนแนว

                  ภูเขาสูงในเขตอําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี คลองทาเรือประกอบดวยคลองขนาดเล็กหลายสายมารวมกัน

                  และไหลออกทะเลไดหลายทาง เชน บริเวณบานเกาะแลหนังและบานตนหยงเปาว ในเขตอําเภอหนองจิก




                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189