Page 116 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 116

3-48





                             3.1.2.2  น้ําใตดิน

                                    ก)  แหลงน้ําใตดิน จากขอมูลธรณีสัณฐานมาตราสวน 1:1,000,000 กรมทรัพยากรธรณี

                  (2556) นํามาวิเคราะหชั้นน้ําที่พบในลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง รายละเอียดดังนี้

                                       (1) ชั้นหินอุมน้ําตะกอนน้ําพา (Floodplain  Deposits  Aquifers  :  Qfd)
                  ประกอบดวย กรวดทรายทรายแปงและดินเหนียวโดยชั้นน้ําบาดาลจะเก็บอยูในชองระหวางเม็ด

                  กรวดและเม็ดทรายที่สะสมตัวอยูในที่ราบลุมน้ําหลากหรือรองน้ําเกา ใหน้ําประมาณ 2–10

                  ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง ที่ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คุณภาพน้ําดี

                                    (2) ชั้นหินอุมน้ําตะกอนเศษหินเชิงเขา (Colluvium Aquifers : Qcl) ประกอบดวย
                  ดินเหนียวปนทรายคลุกเคลาปะปนดวยเศษหินแตก (rock  fragments)  ที่มีลักษณะเปนเหลี่ยมขนาด

                  แตกตางกันไปตั้งแตขนาดใหญจนถึงเล็กไมมีการจัดคัดขนาดของเม็ดตะกอน ปริมาณน้ําอยูในเกณฑ

                  ระหวาง 2-5 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง
                                  (3) ชั้นหินอุมน้ําตะกอนตะพักน้ํายุคเกา (Older  terrace  deposits:  Qot)

                  ประกอบดวย ชั้นกรวดปนดินเหนียวหลายชั้น  สลับชั้นกลางดวยดินเหนียว  หรือดินเหนียวปนทราย

                  โดยน้ําบาดาลถูกกักเก็บอยูในชั้นกรวดทราย  (gravel beds)  และกอตัวเปนกลุมของชั้นน้ําบาดาล
                  (multi-aquifers) โดยมีการใหปริมาณน้ํามากกวา 40 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง

                                  (4) ชั้นหินใหน้ําโคราชตอนลาง (Lower  Khorat  Aquifers;TR-Jlk)  ประกอบไป

                  ดวย หินทราย และหินกรวดมน น้ําบาดาลถูกกักเก็บอยูภายในรอยแตก รอยแยก และบริเวณที่หินผุ พบเปน

                  หินโผลที่ตําบลเกาะใหญ และบริเวณ วัดพระโคะ ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ
                                  (5) ชั้นหินอุมน้ําหินชุดลําปาง (Lampang Aquifers; TRlp) ประกอบไปดวย หินทราย

                  หินทรายแปง หินดินดาน หินปูน และหินกรวดมนภูเขาไฟ น้ําบาดาลถูกกักเก็บอยูภายในรอยแตก

                  รอยแยก รอยเลื่อน และรอยตอระหวางชั้นหิน พบกระจายตัวในเขตอําเภอจะนะ อําเภอนาทวี

                  อําเภอสะเดา อําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย
                                  (6)  ชั้นหินใหน้ําหินตะกอนกึ่งหินแปรยุคคารบอนิเฟอรัส  (Carboniferous  Meta-

                  sedimentary Aquifer; Cms) ชั้นหินใหน้ําประกอบไปดวย หินดินดาน หินทรายแปง หินทราย หินชนวน

                  หินฟลไลต และหินควอรตไซต น้ําบาดาลกักเก็บอยูใน รอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และบริเวณที่หินผุพบ
                  ในเขต อําเภอควนเนียง อําเภอบางกล่ํา อําเภอรัตภูมิ อําเภอเมือง อําเภอหาดใหญ อําเภอคลองหอยโขง

                  อําเภอนาหมอม อําเภอจะนะ อําเภอเทพา อําเภอสะเดา และอําเภอสะบายอย

                                  (7) ชั้นหินอุมน้ําหินแกรนิต (Granitic Aquifers : Gr) ประกอบดวย หินอัคนีแทรก

                  ซอนชนิดฮอรนเบลนดแกรนิต หินมัสโคไวต และไบโอไทตแกรนิต เปนหินเนื้อแนนไดน้ํา  2 – 4 ลูกบาศก
                  เมตร/ชั่วโมง จากแนวรอยแตกที่ความลึก 30 เมตร





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121