Page 115 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 115

3-47






                                3)  พื้นที่จากสภาพการใชประโยชนที่ดิน ที่เปนไมพุมและทุงหญาตามธรรมชาติ
                  มีเนื้อที่ 26,598 ไร ถาเปนที่สาธารณประโยชน ควรปรับปรุงใหเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว เพื่อเกษตรกร

                  ไดใชประโยชนรวมกัน ถาเปนที่ปาสงวนแหงชาติ ควรดําเนินการตามความเหมาะสม เชน ปลูกปาทดแทน
                  หรือจัดเปนพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                                ลําดับความสําคัญในการฟนฟูลุมน้ํา ถาเขาดําเนินการฟนฟูเปนรายลุมน้ํายอยในลุมน้ํา

                  สาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง โดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุมน้ํายอยนั้น จะ

                  ไดรับเปนหลักวาโอกาสจะไดรับความเสียหายจากการเกิดการชะลางพังทลายของดินมากนอยเพียงไร
                  ประกอบกับคุณภาพของที่ดินดีหรือไม มีที่รกรางวางเปลามากนอยเพียงไร พื้นที่ลุมน้ํายอยที่มีโอกาสเกิด

                  การชะลางพังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไมดี และมีที่รกรางวางเปลาที่ยังไมไดใชประโยชน
                  จํานวนมาก พื้นที่ลุมน้ําที่มีลักษณะดังกลาว จะเปนลุมน้ําลําดับตนๆ ที่ควรเขาไปดําเนินการฟนฟูกอน


                        3.1.2  ทรัพยากรน้ํา

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ํา
                                    ลักษณะทางกายภาพของลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลางมีรูปรางเปน

                  รูปพัด มีคาสัมประสิทธิ์ความหนาแนน Compactness coefficient (Kc) เทากับ 2.6 และมีคา Form Factor

                  (FF) เทากับ 1.2 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูบริเวณในเขตตําบลทุงหลา อําเภอโคก
                  โพธิ์ไชย จังหวัดปตตานี มีความสูง 1,019 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง จุดต่ําสุดของพื้นที่ลุมน้ํา

                  บริเวณพื้นที่ตําบลปากบาง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลาโดยทั่วไปของลุมน้ําเปนพื้นที่ลุมรูปแบบของลําน้ํา

                  เปนแบบ Dendric pattern  มีลักษณะเปนลําธารแตกกิ่งกานสาขาคลายเสนใบของใบไมมีทิศทางไมแนน
                  ดังตารางที่ 3-8


                  ตารางที่ 3-8 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ําภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง

                                                    ความ                                         ความ
                    ความยาวเสน   พื้นที่  ความ                         Compactness   Drainage
                                                              Form
                   ลอมรอบลุมน้ํา  ลุมน้ํา  ยาวเฉลี่ย  กวาง  Factor (FF)   coefficient   density    ลาดชัน

                       (km)       (km )    (km)     เฉลี่ย                 (Kc)      กม./ตร.กม.   ของ
                                     2
                                                    (km)                                          พื้นที่
                       350        1,460     35       78         1.2         2.6         1.0        13

                  หมายเหตุ : Drainage density    < 1 แสดงวามีการระบายน้ําเลว
                                                 1-5 แสดงวามีการระบายน้ําดีปานกลาง

                         :  Compactness coefficient   > 1 แสดงวาเปนพื้นที่ลุมน้ําไมใชลักษณะวงกลม
                            Form Factor          < 1 แสดงวาพื้นที่ลุมน้ํามีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยม

                            Form Factor           > 1 แสดงวาพื้นที่ลุมน้ํามีลักษณะคลายรูปพัด
                  ที่มา : จากการคํานวณ



                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120