Page 32 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 32

23





                                          1.3.16) ความหนาของชั้นวัสดุดินอินทรีย์ (o  :  organic  soil  material)
                  แบ่งเป็น 5 ชั้น ดังนี้
                                                 (1) หนาน้อยมาก มีชั้นอินทรียวัตถุหนา 0-20 เซนติเมตร

                                                 (2) หนาน้อย มีชั้นอินทรียวัตถุหนา 20-40 เซนติเมตร
                                                 (3) หนาปานกลาง มีชั้นอินทรียวัตถุหนา 40-100 เซนติเมตร
                                                 (4) หนา มีชั้นอินทรียวัตถุหนา 100-200 เซนติเมตร
                                                 (5) หนามาก มีชั้นอินทรียวัตถุหนามากกว่า 200 เซนติเมตร
                                   2) ชั้นความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ แบ่งออกเป็น 5 ชั้น ได้แก่

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดีมาก

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 2 : เหมาะสมดี
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 3 : เหมาะสมปานกลาง

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 4 : ไม่ค่อยเหมาะสม

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 5 : ไม่เหมาะสม
                                      หมายเหตุ : การจ าแนกความเหมาะสมของดินในระดับกลุ่มชุดดินแบ่งเป็น 3 ชั้น ดังนี้

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสม ไม่มีข้อจ ากัด (ความเหมาะสม ชั้นที่ 1 เดิม)
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสม มีข้อจ ากัด (ความเหมาะสม ชั้นที่ 2 และ 3 เดิม)

                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 2 : ไม่ค่อยเหมาะสม (ความเหมาะสม ชั้นที่ 4 เดิม)
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 3 : ไม่เหมาะสม (ความเหมาะสม ชั้นที่ 5 เดิม)

                                2)  การจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์  เป็นการวินิจฉัย

                  เพื่อหา   ระดับความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ตามวิธีการวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพี
                  กลศาสตร์ตามกลุ่มชุดดินในประเทศไทย (สุวณี, 2538) ซึ่งเป็นการประเมินความเหมาะสมของชุดดินตาม

                  สมบัติของดินเพื่อการใช้งานด้านปฐพีกลศาสตร์ประเภทต่างๆ โดยชนิดของข้อจ ากัดของดินที่ท าให้ดินนั้นไม่

                  เหมาะสมอย่างยิ่ง ไม่เหมาะสม เหมาะสมปานกลาง หรือเหมาะสมดีส าหรับงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                  เขียนเป็นสัญลักษณ์ภาษาอังกฤษก ากับท้ายตัวเลข ประกอบด้วย

                                        a : ลักษณะของดินตามการจ าแนก (subgrade properties)
                                        b : ความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (thickness of suitable material)

                                        c : ความลึกถึงชั้นหินพื้น (depth to bedrock)
                                        d : การระบายน้ าของดิน (drainage)

                                        f : อันตรายจากน้ าท่วมหรือน้ าแช่ขัง (flood hazard)

                                        g : ปริมาณเศษหิน ที่มีขนาดใหญ่กว่าทรายหยาบมาก (fragment coarser than
                                           very  coarse sand percent)

                                        h : ระดับน้ าใต้ดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table)

                                        j : ปฏิกิริยาของดิน (reaction)
                                        k : ความซึมน้ าของดิน (permeability or hydraulic conductivity)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37