Page 33 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 33

24





                                        l : ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดิน (shrink-swell potential)
                                        m : ความลึกถึงชั้นที่มีการซาบซึมน้ า (depth to permeable material)

                                        o : การกัดกร่อนของท่อเหล็กที่ไม่เคลือบผิว (corrosivity uncoated steel)
                                        p : การมีก้อนหิน  (stoniness)

                                        q : ความลึกถึงชั้นทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel)

                                        r : การมีหินโผล่ (rockiness)
                                        s : เนื้อดิน (texture)

                                        t : สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (topography or slope)

                                        u : การยึดตัวขณะดินชื้น (moist consistence)
                                        x : ความเค็มของดิน (salinity)

                                   2.1) หลักเกณฑ์การวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์
                                      2.1.1) อาศัยการคาดคะเนจากสมบัติของดินภายใต้สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินและ

                  การจัดการดินตามปกติ
                                      2.1.2)  การวินิจฉัยสมบัติของดินจะไม่รวมกับปัญหาที่เกี่ยวกับท าเล เช่น ที่ตั้งใกล้

                  เมืองหรือทางหลวง แหล่งน้ า ขนาดของที่ดินถือครอง

                                      2.1.3) การจัดระดับของที่ดินขึ้นอยู่กับลักษณะของดินตามธรรมชาติ
                                      2.1.4)  การจัดระดับความเหมาะสมของดินมักจะพิจารณาจากดินทั้งหมด ยกเว้น

                  บางกรณีอาจจะจัดระดับจากข้อจ ากัดของดินแต่ละชั้นดิน ความลึกของชั้นดินที่ใช้จัดระดับจะอยู่ประมาณ

                  1.50 - 1.80 เมตร แต่ดินบางชนิดการคาดคะเนที่มีเหตุผลอาจจะต้องได้จากวัสดุดินที่ลึกกว่านี้
                                      2.1.5) การจัดระดับความเหมาะสมของดินว่าไม่เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง

                  มิได้หมายความว่าท าเลพื้นที่นั้นจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงโยกย้ายหรือแก้ไขข้อจ ากัดได้ การใช้ประโยชน์
                  ที่ดินที่ได้จัดระดับไว้ว่าไม่เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมอย่างยิ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อจ ากัดซึ่งจะสามารถแก้ไข

                  ให้ส าเร็จและคุ้มกับการลงทุนหรือไม่
                                      2.1.6) การวินิจฉัยสมบัติของดิน เป็นสิ่งจ าเป็นที่ใช้ในการประเมินที่ดิน ความส าคัญ

                  ของการวินิจฉัยขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ชนิดของดินและปัญหาการใช้ที่ดิน

                                   2.2) ชั้นความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                                       การวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์ ดินแต่ละชุดดินจะมีความเหมาะสมใน

                  การใช้ประโยชน์ต่างกันขึ้นอยู่กับข้อจ ากัดของการใช้ประโยชน์และคุณลักษณะของดินเป็นส าคัญ

                                       2.2.1)  ชั้นความเหมาะสมส าหรับการใช้เป็นแหล่งหน้าดิน แหล่งทรายและกรวด
                  ดินถมหรือดินคันทาง การใช้เป็นเส้นทางแนวถนนแบ่งไว้ 4 ระดับ โดยใช้หมายเลขต่างๆ แทนระดับความ

                  เหมาะสม ดังนี้
                                               1  หมายถึง  เหมาะสมดี (Good)

                                               2  หมายถึง  เหมาะสมปานกลาง (Fair)
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38