Page 241 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 241

176


                  ข้าว ควรปรับสภาพพื้นที่โดยยกร่องแบบเตี้ยหรือท าร่องระบายน้ าระหว่างแปลงเพื่อป้องกันน้ าท่วมขังในฤดู
                  ฝน หรือถ้าต้องการเปลี่ยนจากสภาพพื้นที่นามาปลูกพืชไร่อย่างถาวร ควรสร้างคันดินอัดแน่นล้อมรอบพื้นที่

                  ยกร่องแบบถาวร ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสดในพื้นที่ที่ดินเป็นกรดจัดมากใช้วัสดุปูนปรับปรุง
                  ควรขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร และปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก พัฒนาแหล่ง

                  น้ า ระบบการให้น้ าในแปลงปลูกพืช ในพื้นที่ดอน การปลูกพืชไร่ควรปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี มีการ

                  ปลูกพืชบ ารุงดิน  หรือปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก  ก่อนปลูกพืชมีระบบอนุรักษ์ดินและน ้าที่
                  เหมาะสมตามสภาพพื้นที่  การปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้น ขุดหลุมปลูกขนาด  50x50x50  เซนติเมตร  หรือ

                  75x75x75  เซนติเมตร หรือถึงชั้นหินปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก  ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ย

                  อินทรีย์น้ าตามชนิดพืช ถ้าดินเป็นกรดมาก  ปรับปรุงด้วยการใส่ปูนขาวหรือโดโลไมท์  บริเวณพื้นที่ลาดชัน
                  ควรมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ พัฒนาแหล่งน้ าจัดระบบให้น้ าในพื้นที่ปลูก

                                      3) ปัญหาใช้ที่ดินไม่เหมาะสมตามศักยภาพดิน มีเนื้อที่ 470 ไร่ หรือร้อยละ 6.1079
                  ของพื้นที่ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ncu-clA/d ,E ,b เนื่องจากลักษณะของดินเป็นดินที่ดอน ดินมี
                                                              3 0
                  การระบายน้ าดีถึงปานกลาง เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น แต่เกษตรกรได้มีการปรับ
                  สภาพพื้นที่โดยการท าคันนาเพื่อกักเก็บน้ าและใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกข้าว แต่เนื่องจากลักษณะและ

                  สมบัติของดินเป็นดินที่ดอนและสภาพพื้นที่ไม่เหมาะสม อีกทั้งคันนาที่สร้างขึ้นมีขนาดเล็กท าให้อาจประสบ

                  ปัญหาการขาดแคลนน้ า ปริมาณน้ าไม่เพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของข้าว ต้องมีการจัดการเป็นกรณี
                  พิเศษเพื่อกักเก็บน้ าไว้ให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว โดยก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้วยวิธี

                  กลเข้ามาด าเนินการ เช่น การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เพื่อปรับสภาพพื้นที่ที่เป็นผืนนาแปลงเล็กแปลง

                  น้อยให้มีขนาดใหญ่ กว้าง ราบเรียบสม่ าเสมอและมีคันนาสูงขึ้น และควรปรับปรุงบ ารุงดินให้ดีขึ้นด้วยการ
                  ใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                                      4)  ปัญหาการกร่อนของดิน มีเนื้อที่ มีเนื้อที่ 2,132    ไร่ หรือร้อยละ 27.7062 ของ
                  พื้นที่ด าเนินการ พื้นที่ที่มีการสูญเสียหน้าดินส่วนใหญ่มีความลาดชันตั้งแต่ 2  เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป  ได้แก่ หน่วย

                  แผนที่ Tl-clB/d ,E  Wi-clB/d ,E  Wi-lB/d ,E  Wi-br-clB/d ,E  และ Ws-clC/d ,E  พื้นที่ที่มีความลาด
                                                                                       3 2
                                            4 1
                                                                      5 1
                                                       4 1
                               3 1
                  ชันสูงและการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพืชไร่จะเกิดการสูญเสียหน้าดินและแร่ธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินได้ง่าย
                  จึงควรก าหนดให้มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันปัญหาการชะล้างพังทลายที่ท าให้เกิดการสูญเสีย
                  หน้าดินและแร่ธาตุอาหารพืช เช่น การท าคูรับน้ ารอบเขา การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชตามแนวระดับ
                  ขวางความลาดเทของพื้นที่ร่วมกับการท าแนวคันดิน การปลูกหญ้าแฝกตามแนวคันดินเพื่อชะลอการไหลบ่า

                  ของน้ า เป็นต้น

                                      5)  ปัญหาดินในพื้นที่ลาดชันสูง มีเนื้อที่ 2,679  ไร่ หรือร้อยละ 34.8148 ของพื้นที่
                  ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ SC พื้นที่มีความลาดชันสูงและเป็นป่าไม้ ไม่เหมาะสมที่จะน ามาใช้ประโยชน์

                  ด้านการเกษตร  ควรก าหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ สงวนและรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติ เป็น
                  แหล่งต้นน้ าล าธาร บริเวณป่าเสื่อมโทรมควรปลูกป่าทดแทนเพื่อรักษาสมดุลนิเวศธรรมชาติ
   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246