Page 242 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 242

177


                                      6) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง มีเนื้อที่ 315  ไร่ หรือร้อยละ 4.0936
                  ของพื้นที่ด าเนินการ ดินที่มีธาตุอาหารและมีความสามารถในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ

                  พืชในระดับปานกลาง และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการ
                  ปรับปรุงบ ารุงดินเท่าที่ควร ท าให้ดินเสื่อมโทรมและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าลงได้ ได้แก่ หน่วยแผนที่

                  Wi-clA/d ,E  และ Wi-gm-clA/d ,E  พื้นที่ลุ่มที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว เตรียมพื้นที่ปลูกโดยไถพรวนขณะที่ดิน
                                              4 0
                          4 0
                  มีความชื้นที่เหมาะสมปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ไถกลบตอซัง ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก หรือ ก่อนปลูก
                  หว่านเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด  แล้วไถกลบ ถ้าดินเป็นกรดจัดมากปรับปรุงโดยการไถคลุกเคล้าวัสดุปูนใช้ปุ๋ย

                  อินทรีย์น้ าร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มธาตุอาหารพืชตามค าแนะน าที่ได้จากการน าดินไปวิเคราะห์ใน

                  ห้องปฏิบัติการ การปลูกพืชไร่ ไม้ผล หรือไม้ยืนต้น กรณีปลูกในช่วงฤดูแล้งหรือหลังจากปลูกข้าว ควรปรับ
                  สภาพพื้นที่โดยยกร่องแบบเตี้ยหรือท าร่องระบายน้ าระหว่างแปลงเพื่อป้องกันน้ าท่วมขังในฤดูฝน  หรือถ้า

                  ต้องการเปลี่ยนจากสภาพพื้นที่นามาปลูกพืชไร่อย่างถาวร  ควรสร้างคันดินอัดแน่นล้อมรอบพื้นที่  ยกร่อง
                  แบบถาวร ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสดในพื้นที่ที่ดินเป็นกรดจัดมากใช้วัสดุปูนปรับปรุง ควร

                  ขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร และปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก พัฒนาแหล่งน้ า
                  ระบบการให้น้ าในแปลงปลูกพืช

                                      7) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 440 ไร่ หรือร้อยละ 5.7180 ของพื้นที่ด าเนินการ ได้แก่

                  หน่วยแผนที่ U (ชุมชน ที่อยู่อาศัย สถานที่ราชการ สิ่งปลูกสร้าง) และหน่วยแผนที่ W (แหล่งน้ า)
                                ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                      1)  การใช้ที่ดินด้านการเพาะปลูกพืชควรมีการแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน หากมีการ

                  จัดการดินกับพืชที่ถูกต้องเหมาะสมแล้วจะสามารถใช้เป็นจุดเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนา
                  ที่ดินได้อย่างกว้างขวาง

                                      2)  การปรับปรุงบ ารุงดินควรเน้นในเรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก น้ าหมัก
                  ชีวภาพ หรือการใช้ปุ๋ยพืชสด โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงและจัดท าเป็นแปลงสาธิตการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                  เพื่อให้เกษตรกรได้เห็นเป็นตัวอย่างและน าไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง
                                      3) การก าหนดรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าควรให้สอดคล้องกับลักษณะดินและสภาพ

                  พื้นที่ เช่น บริเวณพื้นที่ลาดชันสูงมีปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ควรก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและ

                  น้ าโดยใช้วิธีกลและวิธีพืชเข้ามาด าเนินการ
                                      4) หลังจากการจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด าเนินการนี้แล้ว ควรมีการติดตาม

                  ผลการด าเนินงานในด้านโครงสร้างการอนุรักษ์ดินและน้ า ระบบการผลิตทางการเกษตร การปรับปรุงบ ารุง

                  ดินเพื่อเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ทราบถึงปัญหาอุปสรรค และก าหนดแนวทางแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
                                      5)  การขยายผล ควรมีการขยายผลโดยก าหนดพื้นที่ด าเนินการเพิ่มเติมภายใน

                  บริเวณลุ่มน้ าคลองกระทือ เพื่อให้งานพัฒนาที่ดินครอบคลุมทุกสภาพปัญหาในพื้นที่ลุ่มน้ า
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247