Page 243 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 243

178


                  9.  วิจารณ์ผล
                         จากการศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3 เขตพัฒนา

                  ที่ดินลุ่มน้ าคลองกระทือ และพื้นที่ด าเนินการ ท าให้ทราบถึงสภาพปัญหา ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติ
                  ข้อมูลดินในรูปของแผนที่ดิน และรายงานการส ารวจดินในพื้นที่ ข้อมูลที่น ามาศึกษาและวิเคราะห์มีความ
                  แตกต่างของมาตราส่วนของข้อมูลพื้นฐาน และความทันสมัยของข้อมูล เช่น มาตราส่วนของแผนที่
                  ธรณีวิทยาเป็นมาตราส่วน 1:250,000 เมื่อน ามาวิเคราะห์กับแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ท า

                  ให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องลดลง ส่วนในด้านความทันสมัยของภาพถ่ายออร์โธสี เนื่องจากรูปถ่ายที่ใช้เป็น
                  ภาพถ่ายที่ถ่ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 จึงท าให้ในบางพื้นที่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน ไม่
                  ตรงกับปัจจุบัน จึงต้องมีการวิเคราะห์พื้นที่ใหม่อย่างละเอียดเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์ ด้าน
                  ทรัพยากรดินมีความถูกต้องแม่นย าแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความละเอียดในการส ารวจดิน โดยข้อมูลทรัพยากร

                  ดินในพื้นที่ด าเนินการจะมีความถูกต้องค่อนข้างมากเนื่องจากเป็นการส ารวจดินอย่างละเอียดมีการเก็บ
                  ตัวอย่างดินตามชั้นดินมาวิเคราะห์สมบัติต่างๆ  สามารถใช้ประโยชน์จากผลการวิเคราะห์สมบัติของดินมาใช้
                  ให้ค าแนะน าการจัดการดิน การปรับปรุงบ ารุงดินให้เหมาะสมกับพืช ในการก าหนดพื้นที่ด าเนินการถือว่า
                  เป็นตัวแทนของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินและพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีปัญหา

                  เช่นเดียวกับปัญหาที่พบในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน และพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา คือ ปัญหาดินตื้นปนกรวดและลูกรัง
                  ความอุดมสมบูรณ์ต่ า การชะล้างพังทลาย สูญเสียหน้าดิน และความลาดชันสูง  ดังนั้น ผลของการศึกษา
                  และพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด าเนินการจึงสามารถน าไปขยายผลในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินและพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาได้

                  ทั้งลุ่มน้ า
                  10.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
                                ผลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ลุ่มน้ า รวมถึงการส ารวจดินในพื้นที่

                  ด าเนินการ คือ ทราบถึงสภาพปัญหา ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติ ข้อมูลดินในรูปของแผนที่ดิน และ

                  รายงานการส ารวจดินในพื้นที่ ซึ่งข้อมูลที่ได้สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
                                10.1   ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช้ที่ดินให้เหมาะสมกับศักยภาพของดินใน

                  พื้นที่ด าเนินการโครงการเขตพัฒนาที่ดิน
                                10.2   ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับงานวิจัย ค้นคว้าและทดลองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับดิน

                  พืช และปุ๋ย
                                10.3 ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเผยแพร่งานพัฒนาที่ดิน

                                10.4 ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการวางแผนพัฒนาโครงการชลประทานและทางด้าน

                  วิศวกรรม เช่น การสร้างถนน อ่างเก็บน้ า คลองส่งน้ า เป็นต้น
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248