Page 236 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 236

171


                                ลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดินแบ่งออกได้เป็น  ตะพักล าน้ า (terrace)
                  พื้นผิวที่เหลือจากการกร่อน (erosion  surface) หรือพื้นผิวที่เหลือจากการกร่อนซอยแบ่ง (dissected

                  erosion surface) เนินเขาและภูเขา (hill and mountain)
                                ทรัพยากรดินที่พบแบ่งออกได้เป็น 18 หน่วยแผนที่ ประกอบด้วย 16  หน่วยแผนที่ดิน และ 2

                  หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด โดยดินในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่หน่วยแผนที่ 1 7 และ 17 ดินในพื้นที่ดอน ได้แก่ หน่วยแผนที่

                  28B 28C 36B 47B 47C 47D 47E 48B 54B 55B 55C 55D และ 62 หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ หน่วย
                  แผนที่ U และ W ดังนั้นดินส่วนใหญ่ที่พบเป็นดินในพื้นที่ดอน มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และเป็นดินตื้น

                  หรือตื้นมากถึงชั้นหินพื้น การระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ส่วนดินในพื้นที่ลุ่มเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว

                  ถึงดินเหนียว การระบายน้ าเลวถึงค่อนข้างเลว
                                ศักยภาพของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ มีดังนี้

                                   1)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว  มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่ดินเสี่ยงต่อการขาด
                  แคลนน้ า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 1 และ 7 มีเนื้อที่ 12,455 ไร่ หรือร้อยละ 23.7482 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                   2)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว  มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่ดินเสี่ยงต่อการขาด
                  แคลนน้ า เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และความอุดมสมบูรณ์ต่ า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 17 มีเนื้อที่ 2,486 ไร่

                  หรือร้อยละ 4.7401 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                   3)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และทุ่งหญ้า มีข้อจ ากัด
                  เล็กน้อยที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 36B มีเนื้อที่ 331 ไร่ หรือร้อยละ 0.6311 ของพื้นที่

                  เขตพัฒนาที่ดิน

                                   4)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับทุ่งหญ้า โดยไม่มีข้อจ ากัด และมีความเหมาะสม
                  ส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น มีข้อจ ากัดที่ดินเป็นด่าง ได้แก่ หน่วยแผนที่ 28B,  54B และ 55B มี

                  เนื้อที่ 4,551 ไร่ หรือร้อยละ 8.6776 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                   5) ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกไม้ผล และทุ่งหญ้า โดยไม่มีข้อจ ากัด แต่เหมาะสม

                  ส าหรับปลูกพืชไร่ โดยมีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูก
                  ไม้ยืนต้น มีข้อจ ากัดปานกลางที่ดินเป็นด่าง ได้แก่ หน่วยแผนที่ 28C และ 55C มีเนื้อที่ 222 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.4233 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                   6)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และทุ่งหญ้า ยกเว้น
                  ข้าวโพด มันส าปะหลัง มะม่วง มะขาม ขนุน ล าไย และยางพารา มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่เนื้อดินเป็นดินร่วน

                  ปนทราย และเป็นดินตื้นถึงชั้นหิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 47B มีเนื้อที่ 1,256 ไร่ หรือร้อยละ 2.3948 ของพื้นที่

                  เขตพัฒนาที่ดิน
                                   7)  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และทุ่งหญ้า มีข้อจ ากัด

                  เล็กน้อยที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ดินตื้นถึงชั้นก้อนกรวด และเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ได้แก่
                  หน่วยแผนที่ 48B มีเนื้อที่ 11,512 ไร่ หรือร้อยละ 21.9502 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241