Page 233 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 233

168


                  กลศาสตร์ของพื้นที่ด าเนินการฯ โดยสภาพพื้นที่ของพื้นที่ด าเนินการมีลักษณะราบเรียบถึงภูเขา มีแหล่งน้ า
                  ธรรมชาติที่ส าคัญคือ ห้วยวังไลย์ คลองกระทือ และอ่างเก็บน้ าคลองกระทือ สภาพการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็น

                  พื้นที่เกษตรกรรม ทรัพยากรดินส่วนใหญ่ที่พบเป็นดินลึกถึงชั้นหินพื้นผุ และดินในพื้นที่ลาดชันสูง ดินใน
                  พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น แต่ในบริเวณที่พื้นที่มีความลาดชันสูงไม่

                  เหมาะสมส าหรับท าการเกษตรเหมาะสมส าหรับอนุรักษ์เป็นป่าต้นน้ า ปัญหาทรัพยากรดินส่วนใหญ่ที่พบคือ

                  ปัญหาดินมีการชะล้างพังทลายและสูญเสียหน้าดิน และพื้นที่มีความลาดชันสูง จากนั้นน าข้อมูลที่ศึกษา
                  และวิเคราะห์พื้นที่ด าเนินการฯ มาจัดท าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดินและรายงานการส ารวจดินมา

                  เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อน าเทคโนโลยีการปรับปรุงบ ารุงดิน การอนุรักษ์ดินและน้ า

                  ตลอดจนการพัฒนาที่ดินภายใต้ภารกิจของกรมพัฒนาที่ดินมาด าเนินการแบบบูรณาการเพื่อให้เกิดการแก้ไข
                  ปัญหาแบบองค์รวม การบูรณาการกิจกรรมยังรวมถึงกิจกรรมที่รับผิดชอบโดยหน่วยงานภาครัฐ เอกชน

                  และการมีส่วนร่วมของชุมชน
                  8.  สรุปผล

                         8.1   การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาของพื นที่ลุ่มน  าสาขาแม่น  า
                  ป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) สรุปได้ดังนี้

                                ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205)  เป็นลุ่มน้ าสาขาของลุ่มน้ าหลักแม่น้ าป่าสัก

                  (รหัส 12)  มีพื้นที่ 4,212.05  ตารางกิโลเมตร หรือ 2,632,534 ไร่  ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด
                  เพชรบูรณ์ พื้นที่บางส่วนของจังหวัดเลย ลพบุรี และชัยภูมิ สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นแอ่งกระทะหงาย

                  วางตัวในแนวตะวันออกไปทางตะวันตก พื้นที่เรียวยาวและลาดเอียงจากทางด้านเหนือลงไปทางด้านทิศใต้

                  ทางด้านตะวันออกมีสันเขาสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 780 เมตร เป็นแนวขอบเขตลุ่มน้ า และ
                  ลาดเทลงมายังแนวแม่น้ าป่าสักที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 40 เมตร บริเวณตอนกลาง

                  ของลุ่มน้ า แล้วสูงขึ้นสู่สันเขาสูงด้านตะวันตกที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 400 เมตร โดย
                  ทรัพยากรน้ ามีล าน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ 21 สาย ไหลลงสู่แม่น้ าป่าสัก ได้แก่ คลองขมวด คลองร่องกาบแดง คลอง

                  ปู่เจ้า คลองระวิง และคลองอีบาง อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ คลองน้ าจุ๊ คลองกรวด คลองล ากง
                  คลองกองทูล คลองน้ าวิ่ง คลองเมา และคลองลวง อ าเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ล าจังหัน และคลองดง

                  มะค่า อ าเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ ห้วยเล็ง ห้วยคอเลือก และห้วยพุเตย อ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัด

                  เพชรบูรณ์ ล าก าเหียง ห้วยตะกรุดแฟบ คลองขนมจีน และห้วยกะแบก อ าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
                  คลองพราก ห้วยตะค้อ และห้วยซับโศก อ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

                                สภาพการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 2,168,816 ไร่ หรือร้อยละ 82.3851

                  ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 376,706  ไร่ หรือร้อยละ 14.3096  ของพื้นที่ลุ่มน้ า
                  สาขา พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 56,015  ไร่ หรือร้อยละ 2.1277  ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา พื้นที่

                  เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 27,102  ไร่ หรือร้อยละ 1.0295  ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา และพื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 3,895  ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 0.1479 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238