Page 232 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 232

167


                                2)  ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                        (1)  สภาพพื้นที่ด าเนินการส่วนใหญ่เป็นที่ดอน มีปัญหาในเรื่องดินตื้น ดินมีความ

                  อุดมสมบูรณ์ต่ า ดินมีการชะล้างพังทลายและสูญเสียหน้าดิน ดังนั้นการใช้ที่ดินด้านการเพาะปลูกพืชควรมี
                  การแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน ซึ่งหากมีการจัดการดินกับพืชที่ถูกต้องเหมาะสมแล้วจะสามารถใช้เป็นจุด

                  เรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินได้ค่อนข้างกว้างขวาง

                                        (2)  การปรับปรุงบ ารุงดินควรเน้นในเรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก น้ าหมัก
                  ชีวภาพ หรือการใช้ปุ๋ยพืชสด โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงและจัดท าเป็นแปลงสาธิตการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                  เพื่อให้เกษตรกรได้เห็นเป็นตัวอย่างและน าไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

                                        (3)  การก าหนดรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าควรให้สอดคล้องกับลักษณะดินและ
                  สภาพพื้นที่ เช่น บริเวณพื้นที่ลาดชันสูงมีปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ควรก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดิน

                  และน้ าโดยใช้วิธีกลและวิธีพืชเข้ามาด าเนินการ ได้แก่
                                            (3.1)    พื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 35  เปอร์เซ็นต์ ควรให้พื้นที่นี้เป็นเขต

                  อนุรักษ์ ควรสงวนและรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร บริเวณป่าเสื่อม
                  โทรมควรปลูกป่าทดแทนเพื่อรักษาสมดุลนิเวศธรรมชาติ

                                            (3.2)  พื้นที่ที่มีปัญหาการไหลบ่าของน้ าจากที่สูงและมีความลาดชันไม่เกิน

                  15 เปอร์เซ็นต์ ควรสร้างคันดินเบนน้ า (Diversion) ที่มีปริมาตรดินขุด – ถม ประมาณ 2.4 ลูกบาศก์เมตร
                  ต่อเมตร เพื่อป้องกันน้ าไหลบ่าลงสู่พื้นที่เกษตรกรรม

                                            (3.3)  บริเวณพื้นที่ดินดอนปลูกข้าว พื้นที่นามีลักษณะลุ่มๆ ดอนๆ คันนามี

                  ขนาดเล็กและเป็นผืนนาแปลงเล็กแปลงน้อย ควรปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1  เพื่อช่วยให้ดินสามารถเก็บ
                  กักน้ าได้มากขึ้นและเพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของข้าว เป็นต้น

                                        (4)  การติดตามประเมินผล หลังจากการจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด าเนินการ
                  นี้แล้ว ควรมีการติดตามผลการด าเนินงานในด้านโครงสร้างการอนุรักษ์ดินและน้ า ระบบการผลิตทางการเกษตร

                  การปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ทราบถึงปัญหาอุปสรรค และก าหนดแนวทาง  แก้ไขได้อย่างถูกต้อง
                                        (5)  การขยายผล การพัฒนาที่ดินในบริเวณพื้นที่ด าเนินการซึ่งเป็นพื้นที่ตัวแทน

                  สภาพปัญหาของเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองกระทือ มีการจ ากัดบริเวณไว้เพียงส่วนหนึ่ง เพื่อให้การพัฒนา

                  ที่ดินเพื่อการเกษตรมีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม และเกิดความยั่งยืน ควรมีการขยายผลโดยก าหนดพื้นที่
                  ด าเนินการเพิ่มเติมภายในบริเวณลุ่มน้ าคลองกระทือ เพื่อให้งานพัฒนาที่ดินครอบคลุมทุกสภาพปัญหาใน

                  พื้นที่ลุ่มน้ า

                                7.3.11  สรุปการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาของพื นที่
                  ด าเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ต าบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ต าบลสระแก้ว อ าเภอบึงสามพัน

                  จังหวัดเพชรบูรณ์
                                        การศึกษาและวิเคราะห์ ลักษณะและสมบัติของดิน สภาพการใช้ที่ดิน ประเมิน

                  ความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจและความเหมาะสมของดินส าหรับงานทางด้านปฐพี
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237