Page 156 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 156

116


                                            (2) การจัดการดินในพื้นที่ดอน
                                               (2.1) การปลูกพืชไร่

                                               - ควรมีการจัดระบบการปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี  มีการปลูกพืช
                  บ ารุงดินร่วมอยู่ด้วยปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกหรือหว่านพืชปุ๋ยสด แล้วไถกลบเมื่ออายุ 50-

                  70 วันหลังปลูกหรือออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ ก่อนปลูกพืชมีระบบอนุรักษ์ดินและน ้าที่เหมาะสมตามสภาพ

                  พื้นที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ ปลูกพืชปุ๋ยสด วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชสลับ
                  เป็นแถบ ปลูกพืชแซม  การท าขั้นบันได  ท าคูน้ าขอบเขา  ท าฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น  พัฒนาแหล่งน้ า

                  และจัดระบบการให้น้ าในพื้นปลูก

                                               (2.2) การปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้น
                                               - ขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร หรือ 75x75x75 เซนติเมตร

                  หรือถึงชั้นหินปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 20-35 กิโลกรัมต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ย
                  อินทรีย์น้ าตามชนิดพืชที่ปลูก  ในช่วงการเจริญเติบโต  ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว  ถ้าดินเป็นกรดมาก

                  ปรับปรุงด้วยการใส่ปูนขาว อัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อต้น บริเวณพื้นที่ลาดชันควรมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า
                  ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชคลุมดิน วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชแซม ในสภาพพื้นที่

                  ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นลูกคลื่นลอน

                  ชัน ควรเพิ่มมาตรการที่จะช่วยชะลอความเร็วในการไหลของน้ าโดย วิธีการสร้างคันดินการท าขั้นบันได ท าคู
                  น้ าขอบเขา ท าฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น เป็นต้น พัฒนาแหล่งน้ าจัดระบบให้น้ าในพื้นที่ปลูก

                                    4)    ปัญหาดินในพื นที่ลาดชันสูง  มีเนื้อที่ 12,171  ไร่ หรือร้อยละ 23.2067  ของ

                  พื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 62  พื้นที่มีความลาดชันสูงและการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นป่าไม้ไม่
                  เหมาะที่จะน ามาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร

                                        แนวทางการแก้ไข
                                        ก าหนดให้พื้นที่นี้เป็นเขตอนุรักษ์ ควรสงวนและรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่า

                  ตามธรรมชาติ เป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร บริเวณป่าเสื่อมโทรมควรปลูกป่าทดแทน
                                    5)    ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง     มีเนื้อที่ 14,906  ไร่ หรือร้อยละ

                  28.4216 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ดินที่มีธาตุอาหารและมีความสามารถในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็น

                  ประโยชน์ต่อพืชในระดับปานกลาง และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดย
                  ไม่ได้มีการปรับปรุงบ ารุงดินเท่าที่ควร ท าให้ดินเสื่อมโทรมและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าลงได้ ดินที่มีความ

                  อุดมสมบูรณ์ปานกลางในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ 1  และ 7  มีเนื้อที่ 12,455  ไร่ หรือร้อยละ 23.7482

                  ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางในพื้นที่ดอน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 28B 28C 55B
                  55C และ 55D มีเนื้อที่ 2,451 ไร่ หรือร้อยละ 4.6734 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                        แนวทางการแก้ไข
                                            (1) การจัดการดินในพื้นที่ลุ่ม

                                               (1.1) การปลูกข้าว
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161