Page 154 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 154

114


                                               (2.1) การปลูกพืชไร่
                                               - ควรมีการจัดระบบการปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี มีการปลูกพืช

                  บ ารุงดินร่วมอยู่ด้วยเลือกใช้พื้นที่ที่มีดินลึกปานกลาง มีหน้าดินหนามากกว่า 25 เซนติเมตร และไม่มีเศษหิน
                  หรือหินพื้นโผล่ และมีการไถพรวนน้อยที่สุดปรับปรุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสด หว่านเมล็ดถั่วพร้าอัตรา
                  10-12 กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดถั่วพุ่มอัตรา 8-10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือปอเทืองอัตรา 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบ
                  ระยะออกดอกปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก ร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา

                  2-3 ตันต่อไร่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ า  ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูกมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม
                  ตามสภาพพื้นที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 12 ควรไถ
                  พรวนให้น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ท าแนวรั้วหญ้าแฝก ปลูกพืชปุ๋ยสด ใช้วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชหมุนเวียนหรือ
                  ปลูกพืชสลับเป็นแถบ เพื่อช่วยชะลอความเร็วของน้ าที่ไหลบ่าบนผิวดิน พัฒนาแหล่งน้ าและจัดระบบการให้

                  น้ าในพื้นที่ปลูก
                                               (2.2) การปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น
                                               - ขุดหลุมปลูกถึงชั้นหินหรือขุดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร และ

                  ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีเศษหินหรือก้อนหินร่วมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา  25-50 กิโลกรัม

                  ต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก  ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์  เมื่อไม้ผลมีขนาดใหญ่ขึ้น  ควรมีไม้ค้ ายันและเอา
                  หน้าดินบริเวณใกล้เคียงมาผสมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกพูนโคนอยู่เป็นประจ า  เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง

                  ท าให้ไม่ล้มง่ายมีระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่  เช่น  ปลูกพืชปุ๋ยสด  ปลูกพืชคลุมดิน

                  วัสดุคลุมดิน ปลูกพืช ท าฐานปลูกเฉพาะต้น พัฒนาแหล่งน้ าและจัดระบบการให้น้ าในพื้นที่ปลูก
                                    2) ปัญหาดินลึกปานกลางถึงชั นมาร์ล มีเนื้อที่ 2,343 ไร่ หรือร้อยละ 4.4675 ของ

                  พื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ดินลึกปานกลางถึงชั้นมาร์ลจะพบชั้นดินที่มีก้อนปูนปนมากกว่าร้อยละ 35 โดย
                  ปริมาตร ท าให้ดินเป็นด่างในกรณีที่ดินเป็นด่างท าให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างถูกตรึง เช่น ธาตุฟอสฟอรัส

                  เหล็ก แมงกานีส ทองแดง สังกะสี และโบรอน ไม่ละลายมาเป็นประโยชน์ต่อพืช ได้แก่ หน่วยแผนที่ 54B
                                        แนวทางการแก้ไข

                                            (1) การจัดการดินเป็นด่าง

                                               (1.1) ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักเพื่อปรับสมบัติทางเคมีของ
                  ดินอันมีผลให้ลดการตรึงฟอสฟอรัส และพืชได้รับจุลธาตุเพิ่มเติมจากปุ๋ยอินทรีย์
                                               (1.2) เลือกพืชที่ทนดินด่างได้ดี เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฝ้าย มะละกอ
                  หรือน้อยหน่า (ขอค าปรึกษาจากหน่วยงานวิจัยด้านพืชในท้องถิ่น)

                                               (1.3) หากพืชเริ่มแสดงอาการขาดจุลธาตุ ให้แก้ปัญหาโดยการฉีดพ่นปุ๋ย
                  จุลธาตุทางใบ
                                               (1.4) ใส่สารเคมีแก้ความเป็นด่างของดิน เช่น ผงก ามะถัน กรดก ามะถัน

                  จะช่วยลดความเป็นด่างของดินและเพิ่มธาตุรอง ได้แก่ ซัลเฟอร์ให้แก่ดิน เมื่อมีการปลูกพืชตระกูลถั่ว
                                            (2) การรักษาความชื้นในดิน ดินนี้มักขาดแคลนน้ าในการปลูกพืชช่วงฤดูแล้ง
                  จึงควรรักษาความชื้นในดิน
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159