Page 71 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 71

58


                  4.12 ความยั่งยืนของมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
                         หลังด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเสร็จเรียบร้อย ได้ส่งมอบพื้นที่ให้เกษตรกรน าไปใช้ประโยชน์

                  ที่ดิน และได้เข้าไปตรวจสอบความมั่นคงของมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าหลังจากใช้ที่ดินปลูกพืชไปแล้ว 1 ฤดูปลูก
                  พบว่า ยังไม่มีส่วนที่เสียหาย เกษตรกรใช้ทางล าเลียงขนส่งผลผลิตสู่ถนนในหมู่บ้านสะดวกยิ่งขึ้น เมื่อเทียบกับก่อน
                  ด าเนินงาน ทางล าเลียงมีลักษณะเป็นทางเดินหรือส าหรับรถมอเตอร์ไซค์เท่านั้น ปัจจุบันสามารถใช้รถบรรทุกขนาด
                  เล็กได้ บ่อดักตะกอนเจ้าของพื้นที่จุดที่ก่อสร้างมีการดูแลรักษาดี ฤดูน้ าสามารถเก็บกักน้ านอกเหนือจากดักตะกอน

                  ดิน ส่วนช่วงฝนทิ้งช่วงสามารถน าน้ าในบ่อดักตะกอนมาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตรกรได้ ส่วนคันคูรับน้ ารอบเขา
                  แบบที่ 6 ยังคงมีสภาพดี เกษตรกรไม่ท าลายทิ้ง คันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6ไม่มีผลกระทบต่อการปลูกพืชไร่ในพื้นที่
                  ที่มีคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 ช่วยลดปัญหาดินตะกอลงไปสะสมในแหล่งน้ าธรรมชาติ เกษตรกรและชุมชนจะช่วย
                  รักษามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าไว้ แก้ไขปัญหาการเปิดป่าใหม่เพื่อหาพื้นที่ท าการเกษตร เนื่องจากดินเสื่อมโทรม

                  ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งในพื้นที่สูง

                  4.13 สรุปผลการด าเนินงานกิจกรรมจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                         หลังจากก่อสร้างตั้งแต่เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน 2556 สรุปได้ดังนี้

                                        4.13.1 คันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 จ านวน 25 กิโลเมตร
                                        4.13.2 ทางล าเลียงในไร่นา จ านวน 2 กิโลเมตร
                                        4.13.3 บ่อดักตะกอนดิน จ านวน 5 บ่อ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76