Page 68 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 68

55


                  ประโยชน์และ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากมีปริมาณต่ า จนอยู่ในระดับปานกลาง (14 และ 32
                  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ)

                                4.10.3 ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ปฏิกิริยาดินไม่เปลี่ยนแปลง ยังคงมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH
                  5.2)  ปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นเล็กน้อยอยู่ในระดับค่อนข้างต่ า (1.4  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                  ประโยชน์และ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ยังคงมีปริมาณปานกลาง (15  และ 42  มิลลิกรัมต่อ
                  กิโลกรัม ตามล าดับ)

                                4.10.4 ชุดดินวังน้ าเขียว (Wk) ปฏิกิริยาดินเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ยังคงมีสภาพความเป็นกรดจัด
                  (ค่า pH 5.2)  ปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่ยังคงอยู่ในระดับปานกลาง (2.3  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณ
                  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ยังคงอยู่ในระดับต่ ากลาง (8  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ลดลง
                  เล็กน้อย ยังคงมีปริมาณปานกลาง (43 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)

                                4.10.5 ชุดดินด่านซ้าย (Ds) ปฏิกิริยาดินไม่เปลี่ยนแปลง ยังคงมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH
                  5.3)  ปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นเล็กน้อยอยู่ในระดับต่ า (1.0  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และ
                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ยังคงมีปริมาณต่ า (10 และ 30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ)


                  ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์ดินก่อนและหลังด าเนินงาน
                                                  ก่อนด าเนินงาน                       หลังด าเนินงาน
                                        pH  OM P(mg/kg-1)  K(mg/kg-1)  pH  OM.  P(mg/kg-1)  K(mg/kg-1)
                          ชุดดิน
                                              .                                   (%)
                                             (%)
                   ชุดดินลาดหญ้า (Ly)  5.2  1.7       14           40       5.2  1.5        15           42
                   ชุดดินวังน้ าเขียว(Wk)  5.3  2.1    7           45       5.2  2.3         8           43

                   ชุดดินด่านซ้าย (Ds)   5.2  0.7      8           27       5.3  1.0        10           30
                   ดินคล้ายดินลาดหญ้า  5.3  1.0        7           27       5.3  1.0         7           27

                   ดินคล้ายดินด่านซ้าย  5.2  0.8      10           25       5.3  1.0        14           32

                  4.11 แนวทางในการปรับปรุงบ ารุงดิน
                         จากผลการวิเคราะห์ดินพบว่าสมบัติทางเคมีของดินหลังการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าแล้วยังไม่เหมาะสม

                  กับการเจริญเติบโตของพืชมากนัก ดินยังคงมีสภาพเป็นกรดจัด ปริมาณธาตุอาหารที่จ าเป็นและปริมาณอินทรียวัตถุ
                  อยู่ในระดับต่ า จึงควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินดังนี้
                                4.11.1 การปรับปฏิกิริยาดินโดยการใช้ปูน ส่วนใหญ่ดินในพื้นที่มีสภาพเป็นกรดจัด ค่า pH 5.2-
                  5.3 จึงควรใช้ปูนขาวหรือปูนโดโลไมท์ตามค่าความต้องการปูนของดินโดยใส่ปูนในอัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้น

                  ตรวจสอบค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน อาจจะใช้ Test kit ให้ค่า pH ประมาณ 6.8 ถือว่าเหมาะสมกับการปลูกพืช
                  แล้ว การใส่ปูนอาจจะติดต่อกัน 2-3 ปี จนยกระดับค่า pH ได้ตามที่ต้องการจึงหยุดใส่ปูน ไม่ควรใส่ปูนครั้งเดียว
                  ตามค่าวิเคราะห์ดิน ซึ่งอาจมีปัญหา Over lime ไม่เป็นผลดีต่อพืช
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73