Page 69 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 69

56


                                4.11.2  การเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดินในพื้นที่ที่เหมาะสมโดยใช้ปุ๋ยพืชสด  ดินในพื้นที่ส่วนใหญ่มี
                  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM.) ต่ า (1.0-2.3  เปอร์เซ็นต์) ควรมีการเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดิน ปุ๋ยพืชสดเป็นวิธีง่าย

                  ลงทุนต่ า ชนิดของพืชปุ๋ยสดที่สถานีพัฒนาที่ดินเชียงรายส่งเสริม คือ ปอเทือง โดยการหว่านเมล็ด อัตรา 5 กิโลกรัม
                  ต่อไร่ ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ไถกลบในเดือนมิถุนายน แล้วปลูกพืช (พืชไร่) ส่วนในสวนยางที่อายุน้อยการไถ
                  กลบอาจท าให้ยางเสียหาย ประกอบกับสภาพพื้นที่ไม่เหมาะกับการไถพรวน ควรปล่อยให้ปอเทืองหมดอายุทับถม
                  ในพื้นที่และสลายตัวเป็นอินทรียวัตถุต่อไป หรืออาจจะตัดฟันต้นปอเทืองคลุมดินในเดือนมิถุนายน-กรกฏาคม ซึ่ง

                  การเจริญทางล าต้น ใบ สูงสุดก่อนออกดอก ซึ่งปอเทืองจะสลายตัวเป็นอินทรียวัตถุต่อไป
                                4.11.3  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง เนื่องจากดินส่วนใหญ่นอกจากเป็นกรดจัด และมีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินต่ าแล้ว ปริมาณธาตุอาหารหลักอยู่ในระดับต่ าควรเพิ่มธาตุอาหารหลักแก่ดินด้วย ปุ๋ยอินทรีย์
                  คุณภาพสูงตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดินสูตรที่ 3 มีวัสดุ คือ กากถั่วเหลือง หินฟอสเฟต (0-3-0) มูลสัตว์ ร าละเอียด

                  อัตรา 40 : 40 : 10 : 10  ผสมกับกากน้ าตาล 10 กิโลกรัมที่ผสมกับสารเร่ง พด.2 และหมักด้วยพด.3 พด.9 หมัก
                  นาน 10-15  วัน จึงน าไปใช้ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ จะให้ไนโตรเจน ประมาณ 8.94   ฟอสฟอรัส ประมาณ
                  14.47  และโพแทสเซียม ประมาณ 1.44 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ วิธีใช้ ในพืชไร่ใช้ ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่
                  หว่านแล้วไถกลบก่อนปลูก ส่วนยางพาราใส่ปริเวณรอบโคนต้นในอัตรา 100 กรัมต่อต้น แล้วพรวนกลบ ควรใส่

                  เดือนละ 1 ครั้ง
                                4.11.4 การใช้ปุ๋ยเคมีอย่างถูกหลักวิชาการ ในพื้นที่เป้าหมายเกษตรกรปลูกพืชไร่ (ข้าวโพด) และ
                  ไม้ผลไม้ยืนต้น (ยางพารา) บนพื้นที่ดอนและพื้นที่เนินเขา ดังนั้นการแนะน าการปรับปรุงบ ารุงดินจึงเน้นข้าวโพด

                  และยางพารา การใช้ปุ๋ยเคมีเป็นแนวทางการเพิ่มผลผลิตพืชอย่างรวดเร็วทันสถานการณ์ โดยแบ่งออกเป็นสองวิธี
                  คือ การให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินซึ่งมีข้อมูลอยู่ในโปรแกรมดินไทย และอีกวิธีหนึ่งคือ การให้ปุ๋ยตามผลการ
                  ศึกษาวิจัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งได้ศึกษาวิจัยในพื้นที่ตัวแทน
                                        1) การให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในโปรแกรมดินไทย
                                               ก.ข้าวโพด

                                                      -.ชุดดินลาดหญ้า (Ly) กลุ่มชุดดินที่ 56 พิจารณาเลือกค าแนะน าที่ชนิด
                  ปุ๋ยสามารถหาได้ในท้องถิ่น (ตลาดประจ าอ าเภอเวียงแก่น หรือในต าบลท่าข้าม) ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 โดย
                  ใส่รองก้นหลุมตอนปลูก อัตรา 34 กิโลกรัมต่อไร่  ครั้งที่สองใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 34 กิโลกรัมต่อไร่หลังปลูก

                  20-30 วัน (ระยะก าจัดวัชพืช)
                                                      -.ชุดดินวังน้ าเขียว (Wk) กลุ่มชุดดินที่ 47 พิจารณาเลือกค าแนะน าที่
                  ชนิดปุ๋ยสามารถหาได้ในท้องถิ่น (ตลาดประจ าอ าเภอเวียงแก่น หรือในต าบลท่าข้าม) ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0
                  ร่วมกับสูตร 0-0-60  โดยใส่รองก้นหลุมตอนปลูก อัตรา 11  และ 9 กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ  ครั้งที่สองใส่ปุ๋ยสูตร

                  46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมต่อไร่หลังปลูก 20-30 วัน (ระยะก าจัดวัชพืช)
                                                      -.ชุดดินด่านซ้าย (Ds) กลุ่มชุดดินที่ 35 พิจารณาเลือกค าแนะน าที่ชนิด
                  ปุ๋ยสามารถหาได้ในท้องถิ่น (ตลาดประจ าอ าเภอเวียงแก่น หรือในต าบลท่าข้าม) ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 โดย
                  ใส่รองก้นหลุมตอนปลูก อัตรา 32  กิโลกรัมต่อไร่  ครั้งที่สองใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 อัตรา 32 กิโลกรัมต่อไร่หลังปลูก

                  20-30 วัน (ระยะก าจัดวัชพืช)
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74