Page 67 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 67

54


                         หลังจากด าเนินการก่อสร้างมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เป้าหมายแล้วและได้ประเมินปริมาณการ
                  สูญเสียดิน พบว่ามีปริมาณการสูญเสียดินลดลงประมาณ 82  เปอร์เซ็นต์ คือจากก่อนด าเนินงานมีปริมาณการ

                  สูญเสียดิน 18.21  ตันต่อไร่ต่อปี หลังจากด าเนินงานมีปริมาณ 3.27 ตันต่อไร่ต่อปี แต่ยังคงมีปริมาณสูงกว่าที่กรม
                  พัฒนาที่ดินยอมรับ คือ 2 ตันต่อไร่ต่อปี ซึ่งจะต้องหามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเสริม เช่น การใช้แถบหญ้าแฝก
                  เสริมเข้าไปในคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6ฯลฯ จะช่วยลดปริมาณการสูญเสียดินลงได้จนอยู่ในระดับที่ยอมรับได้


                  4.9 สภาพของทรัพยากรดิน
                             ก่อนการด าเนินงานก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ได้มีการตรวจสอบคุณภาพดินในชุดดินที่มีมาก
                  ที่สุดและรองลงมาซึ่งประกอบด้วยดินคล้ายดินลาดหญ้า และดินด่านซ้าย รองลงมาคือชุดดินลาดหญ้า (Ly)  ชุดดิน
                  วังน้ าเขียว (Wk) และชุดดินด่านซ้าย (Ds) โดยเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ที่จะก่อสร้างส่งวิเคราะห์ พบว่า ดินคล้ายดิน

                  ลาดหญ้า มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3)  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (1.0  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่
                  เป็นประโยชน์ต่ า (7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีปริมาณต่ า (27  มิลลิกรัมต่อ
                  กิโลกรัม) ดินคล้ายดินด่านซ้ายมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.2)  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (0.8  เปอร์เซ็นต์)
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีปริมาณต่ า (10 และ 25 มิลลิกรัมต่อ

                  กิโลกรัมตามล าดับ ชุดดินด่านซ้าย (Ds) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.2)  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (0.7
                  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ต่ า ( 8 และ 27  มิลลิกรัม
                  ต่อกิโลกรัมตามล าดับ) ชุดดินวังน้ าเขียว (Wk) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3)  มีปริมาณอินทรียวัตถุปาน

                  กลาง (2.1 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ า (7  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่
                  แลกเปลี่ยนได้ปานกลาง ( 45    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ส่วนชุดดินลาดหญ้า (Ly) มีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH
                  5.2) มีปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง (1.7 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียม
                  ที่แลกเปลี่ยนได้ปานกลาง ( 14 และ 40  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ)
                           หลังด าเนินงานได้ส่งมอบพื้นที่ให้เกษตรกรน าไปใช้ประโยชน์ จากที่ใช้ประโยชน์ที่ดินไป 1 ฤดูปลูก ได้

                  เก็บตัวอย่างดินส่งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีที่ส าคัญเพื่อเปรียบเทียบกับก่อนด าเนินงานและ
                  เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน


                  4.10 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีที่ส าคัญของดิน
                           โดยใช้ผลการวิเคราะห์ดินเป็นตัวชี้วัด ผลการวิเคราะห์ดินก่อนและหลังการด าเนินงานก่อสร้างระบบ
                  อนุรักษ์ดินและน้ า พบว่า สมบัติทางเคมีที่ส าคัญของดินเปลี่ยนแปลงน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนด าเนินงาน
                  และค่ามาตรฐาน เนื่องจากระยะเวลาใช้ประโยชน์ที่ดินสั้น (1 ฤดูปลูก) สรุปดังนี้

                                4.10.1 คล้ายดินลาดหญ้า ยังคงมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า
                  (1.0  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีปริมาณต่ า (7  และ 27
                  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ)
                                4.10.2 คล้ายดินด่านซ้าย สมบัติที่ส าคัญของดินมีค่าเปลี่ยนแปลงไปในทางเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ดิน

                  ยังคงมีสภาพความเป็นกรดจัด (ค่า pH 5.3)  มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า (1.0  เปอร์เซ็นต์) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72