Page 14 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 14
5
1
สูตรคิดปริมาตรดิน (ลบ.ม.) = ( /2 )x(ผลบวกด้านคู่ขนาน) x (สูง)
-. ใช้รถขุดตักดินสร้างทางระบายน้ า (Spin way) ตามแบบ โดยใช้
คอนกรีตดาดบริเวณทางระบายน้ า
7) การเก็บวิเคราะห์ข้อมูล
-.ข้อมูลการประเมินการสูญเสียดินสากล USLE (The Universal Soil
Loss Equation) ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้
ก. ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (Rainfall and runoff
erosivity factor)
ข. ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (Soil erodibility factor)
ค. ค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง(Slope length
factor)
ง. ค่าปัจจัยความลาดชัน (Slope steepness factor)
จ. ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (Crop management factor)
ฉ. ค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (Conservation
practice factor)
-.ข้อมูลการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าโดย Rational Method
ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้
การประเมินอัตราน้ าไหลบ่า (ลบ.ม/วินาที)
ก. ค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า (C)
ข. ความรุนแรงของน้ าฝนมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อ
ชั่วโมง (i)
ค. พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์ (A)
การประเมินปริมาณน้ าไหลบ่า (ลบ.ม)
ก.ค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า (C)
ข.ปริมาณน้ าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตร (I)
ค.พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์ (A)
-.ข้อมูลด้านดิน
การเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืชที่ระดับความลึก 0-15
เซนติเมตร ก่อนและหลังด าเนินงาน เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีดินในพื้นด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและ
น้ าตามชุดดินที่พบ ชุดดินละ 5 ตัวอย่าง รวมทั้งหมด 25 ตัวอย่าง เพื่อบันทึกข้อมูลสมบัติทางเคมีของดิน คือ
ก. ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
ข. ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์)
ค. ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
ง. โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์(มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)