Page 13 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 13

4


                  ความต้องการของเกษตรกร จากนั้นขอมติจากที่ประชุมให้สถานีพัฒนาที่ดินเข้าด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและ
                  น้ าในพื้นที่ของเกษตรกร

                                        6)  การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ด าเนินการของบประมาณจากกรม เมื่อกรม
                  อนุมัติแล้วด าเนินการวางแนวก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 ก าหนดจุดก่อสร้างบ่อดักตะกอนดินตามพิกัดใน
                  แผนที่ออกแบบงานจัดระบบฯ  จัดซื้อจัดจ้าง โครงการนี้ด าเนินงานในลักษณะด าเนินการเอง โดยมีขั้นตอนการ
                  ด าเนินงานก่อสร้างมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า คือ

                                               (1) การก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 มีขั้นตอนการก่อสร้างดังนี้
                                                      -. ก าหนดผังวางแนวตามแผนที่ และแบบงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและ
                  น้ าที่ผ่านการเห็นชอบจากเกษตรกรแล้ว
                                                      -. ปักหมุดวัดระยะวางแนวระดับ ด้วยกล้องส่องระดับ เพื่อให้คันคูรับ

                  น้ ารอบเขาแบบที่ 6อยู่ในระดับเดียวกัน
                                                      -. ใช้แรงงานคนขุดเป็นรูปสามเหลี่ยมระยะห่างของคูขึ้นกับสภาพภูมิ
                  ประเทศเพื่อลดความยาวของความลาดเทของพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงออกเป็นช่วงๆ เพื่อเก็บกักน้ าหรือระบายน้ า
                  ออกจากพื้นที่ในทิศทางที่ต้องการ ท าให้น้ าไหลบ่าแต่ละช่วงมีปริมาณน้อยลง  ลดการกัดเซาะและการพังทลายของ

                  ดิน  นอกจากนี้ยังใช้เป็นทางล าเลียงได้
                                                      -. การคิดปริมาตรดินขุด โดยคิดระยะทาง 1  เมตร ขุดดิน 0.20
                  ลูกบาศก์เมตร หรือ 1 กิโลเมตรต่อ 200 ลูกบาศก์เมตร

                                                (2) การก่อสร้างท าทางล าเลียงในไร่นา มีขั้นตอนการก่อสร้างดังนี้
                                                      -. ก าหนดผังวางแนวเส้นทางล าเลียง ตามแผนที่และแบบงานจัดระบบ
                  อนุรักษ์ดินและน้ า ที่ผ่านการเห็นชอบจากเกษตรกรแล้ว
                                                      -. ใช้รถขุดตักดิน ถมดินเป็นรูปทางล าเลียง มีขนาดกว้าง 4.00 เมตร มี
                  ร่องน้ าด้านข้างๆ ละ 1 เมตร

                                                      -. ใช้รถแทรกเตอร์ ปรับและบดอัดดินหนาประมาณ 0.20  เมตร คิด
                  ปริมาตรดินถมบดอัด 1 เมตรต่อ 1 ลูกบาศก์เมตร หรือ 1 กิโลเมตรต่อ 1,000 ลูกบาศก์เมตร
                                               (3) การก่อสร้างบ่อดักตะกอนดิน มีขั้นตอนการก่อสร้างดังนี้

                                                      -. ก าหนดจุดก่อสร้างตามแผนที่และแบบงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและ
                  น้ า ที่ผ่านการเห็นชอบจากเกษตรกรแล้ว
                                                      -. จุดก่อสร้างก าหนดตามพิกัดในแผนที่งานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                  ซึ่งมีความสัมพันธ์กับคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 เพื่อรับน้ าไหลบ่าจากคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6ให้ตกตะกอนใน

                  บ่อหลังจากนั้นระบายออกทาง ทางระบายน้ า (Spin  way) ซึ่งน้ าจะล้นออกเมื่อระดับถึงจุดสูงสุดที่เก็บกักน้ า
                  (ประมาณ 1.5 เมตร)
                                                      -. ใช้รถขุดตักดิน ขุดดินท าสันเขื่อนกว้าง 4 เมตร ยาวตามแบบ ความ
                  ลึกของสันเขื่อนไม่เกิน 2 เมตร มีการบดอัดโดยใช้น้ าหนักของเครื่องจักรกลทุก 0.50 เมตร

                                                      -. คิดปริมาตรดินที่ด าเนินการก่อสร้าง (ดินขุด-ถม)  สันบ่อดัก   กว้าง
                  4   เมตร สูง 2 เมตร ความยาวสันบ่อ (ด้านคู่ขนาน ขึ้นอยู่กับร่องน้ า (Slope ด้านหน้า 1 :  2 ด้านหลัง 1 : 3)
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18