Page 8 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 8

ชื่อโครงการวิจัย   ศึกษาการใช้อัตราน ้าหมักชีวภาพที่เหมาะสมต่อการเพิ่มผลผลิตของ
                                      ยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
                                      The Study on Suitable Rate of Bio Extract for increase yield of
                                      Para Rubber on Ranong Series in Chumphon.

                    ทะเบียนวิจัย      52     54      04     12     30002     025     102     06     11
                    กลุ่มชุดดินที่    51   ชุดดินระนอง (Rg : Ranong series)
                    ผู้ด้าเนินการ     นายชัยชนะ  บัวชุม        Mr. Chaichana  Buachum

                    ผู้ร่วมด้าเนินการ   นางสาววนิดา  งามเงิน   Miss Wanida  Ngam-ngern
                                      นางสาวยุพาพร  นาควิสัย  Miss Yuphaphon  Nakwisai

                                                           บทคัดย่อ


                               การศึกษาอัตราการใช้น ้าหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตของยางพาราในจังหวัดชุมพร
                    พื นที่หมู่ 5  ต้าบลหินแก้ว อ้าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร  กลุ่มชุดดินที่ 51 ชุดดินระนอง  (Rg  :  Ranong

                    series) เริ่มต้นด้าเนินการเดือนตุลาคม 2551 สิ นสุด เดือนกันยายน 2554 วางแผนการทดลองแบบบล็อก
                    สมบูรณ์ 4 วิธีการ 5 ซ ้า ได้แก่ การปฏิบัติของเกษตรกรใช้ปุ๋ยเคมี 15-7-18 อัตรา 90 กิโลกรัมต่อไร่ น ้า
                    หมักชีวภาพความเข้มข้น 1:500 1:1,000 และ 1:1,500 ฉีดพ่นต้นยางพาราอัตรา 150 ลิตรต่อไร่ ศึกษา
                    ผลของน ้าหมักชีวภาพต่อสมบัติทางกายภาพ และเคมีของดิน และผลผลิตยางพาราตลอดจนความคุ้มค่า
                    ทางเศรษฐกิจ ผลการทดลองพบว่าน ้าหมักชีวภาพท้าให้ดินมีความหนาแน่นรวมลดลง ความชื นในดินและ

                    ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเพิ่มขึ น ปริมาณอินทรียวัตถุเมื่อมีการใช้ปุ๋ยเคมีและน ้าหมักชีวภาพในความ
                    เข้มข้น 1:500 และ 1:1,000  เพิ่มขึ น แต่ที่ความเข้มข้น 1:1,500 ท้าให้ดินมีอินทรียวัตถุลดลง  น ้าหมัก
                    ชีวภาพในความเข้มข้น 1:500 และ 1:1,000 ท้าให้ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ น ส่วนการให้ปุ๋ยเคมี

                    และน ้าหมักชีวภาพความเข้มข้น 1:1,500 ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ลดลง ปุ๋ยเคมีท้าให้ดินมีโพแทสเซียม
                    ที่สกัดได้ 35.85-39.60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนน ้าหมักชีวภาพท้าให้โพแทสเซียมที่สกัดได้เพิ่มขึ นในปีที่
                    2 และลดลงในปีที่ 3 ต้ารับที่ใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว ให้ผลผลิตยางพาราสูงที่สุด 369.60 กิโลกรัมต่อไร่
                    ต่อปีในปีที่ 1   ส่วนปีที่ 2 และ 3  น ้าหมักชีวภาพความเข้มข้น 1:1,500 ให้ผลผลิตยางพาราสูงสุด

                    415.80  กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  และ 387.57 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตามล้าดับ  เมื่อสิ นสุดการทดลอง  วิธีที่ใช้
                    น ้าหมักชีวภาพความเข้มข้น  1:1,500  ให้ผลิตเฉลี่ยสูงที่สุด  366.61  กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  ส่วนวิธีของ
                    เกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว  วิธีที่ใช้น ้าหมักชีวภาพความเข้มข้น  1:500    และ วิธีที่ใช้น ้าหมัก
                    ชีวภาพความเข้มข้น  1:1,000    ให้ผลผลิตเฉลี่ย  337.89,  350.62  และ 296.39  กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี

                    ตามล้าดับ
                               การวิเคราะห์ต้นทุนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเมื่อสิ นสุดการทดลองพบว่าการใช้ปุ๋ยเคมี
                    อย่างเดียวมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่้าสุด  การใช้น ้าหมักชีวภาพความเข้มข้น  1:1,500  ให้รายได้สุทธิเฉลี่ย
                    สูงสุดและมีแนวโน้มสูงขึ น
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13