Page 76 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 76

61






                  3.2   การเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดิน จังหวัดสุรินทร์ ระหว่าง ปี พ.ศ.  2549 และ ปี พ.ศ.  2554

                             ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมจึงต้องใช้ที ดินเป็นปัจจัยหลักในการทําการผลิต
                  พืชผลทางการเกษตร ซึ งจําเป็นต่อการดํารงชีพของประชากรในประเทศ แต่ปัญหาการเพิ มขึ<นของ

                  ประชากร ทําให้มีความต้องการใช้ที ดินในกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั<งกิจกรรมทางเศรษฐกิจสาขาอื น ๆ ก็มี

                  แนวโน้มที เพิ มขึ<น เช่น การพัฒนาเมือง  เขตอุตสาหกรรม เป็นต้น ดังนั<นปัญหาที เกิดขึ<นในการใช้
                  ประโยชน์ที ดิน คือ  การนําพื<นที เหมาะสมทางการเกษตรมาใช้ในการขยายเมือง  การนําพื<นที ที ไม่

                  เหมาะสมต่อการเกษตรมาใช้ในการเกษตร  การใช้ประโยชน์จากที ดินที ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

                  ทําให้เกิดปัญหาความเสื อมโทรมของดิน ซึ งส่งผลกระทบทั<งทางตรง และทางอ้อมต่อเกษตรกร
                  ชุมชน และประเทศชาติ ส่วนวิเคราะห์สภาพการใช้ที ดิน สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน

                  กรมพัฒนาที ดิน จึงได้ทําการวิเคราะห์การเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดินของจังหวัดสุรินทร์ระหว่างปี

                  พ.ศ.  2549 และ ปี พ.ศ.  2554   เพื อศึกษาการเปลี ยนแปลงการสภาพการใช้ที ดินในระยะเวลา  5 ปี และหาปัจจัย

                  ที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลง รวมทั<งผลกระทบทางด้านต่าง  ๆ โดยใช้ข้อมูลแผนที สภาพการใช้ที ดินเชิงเลข
                  ปี พ.ศ.  2549  ซ้อนทับชั<นข้อมูล (Intersect) กับข้อมูลแผนที สภาพการใช้ที ดินเชิงเลข ปี พ.ศ.  2554 ได้พบว่ามี

                  การเปลี ยนแปลงสภาพการใช้ที ดินดังนี< (รายละเอียดตามตารางที  6  7  และภาพที   30)

                             3.2.1   พื<นที ชุมชนและสิ งปลูกสร้าง เพิ มขึ<นจาก 345,515 ไร่ ในปี พ.ศ. 2549 เป็น 356,066 ไร่
                  ในปี พ.ศ. 2554 โดยเพิ มขึ<น 10,551  ไร่ หรือเพิ มขึ<นร้อยละ 3.05  ของเนื<อที เดิม (รายละเอียดดังตารางที  6)

                  ซึ งเปลี ยนแปลงมาจากพื<นที นาข้าว 4,501 ไร่  พื<นที เบ็ดเตล็ด 2,577 ไร่  และป่าสมบูรณ์ 1,690 ไร่ ตามลําดับ

                  (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  39)  อันเนื องมาจากการขยายตัวของชุมชนเพื อตอบสนองกับจํานวน

                  ประชากรที เพิ มขึ<น พื<นที นาข้าว และพื<นที เบ็ดเตล็ดเปลี ยนเป็นตัวเมือง ย่านการค้า หมู่บ้านจัดสรร สถานที
                  พักผ่อนหย่อนใจ ลานตากและแหล่งรับซื<อทางการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรม  สถานที ราชการและ

                  สถาบันต่างๆ ได้แก่ วัด องค์การบริหารส่วนตําบล (ภาพที   31-32) เทศบาล โรงพยาบาล เป็นต้น ในขณะที

                  ป่าสมบูรณ์เปลี ยนไปเป็นวัด สถานที ราชการ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์วิทยาเขตธาตุ หน่วย
                  จัดการต้นนํ<าห้วยด่าน สถานีควบคุมไฟป่าจังหวัดสุรินทร์ และหน่วยป้ องกันรักษาป่าที  สร. 4    เป็นต้น

                  แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าพื<นที ชุมชนและสิ งปลูกสร้าง ในปี พ.ศ.  2549 ได้มีการเปลี ยนแปลงเป็นพื<นที

                  แหล่งนํ<าจํานวน 12  ไร่  ได้แก่  บริเวณบ้านหนองเหล็ก ที มีผลกระทบเนื องมาจากขุดลอกหนองเหล็ก
                  และในบริเวณสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ…พระบรมราชชนนี อําเภอท่าตูมมีการขุดลอกอ่างเก็บนํ<า

                  เพิ มเติม

                             3.2.2  พื<นที เกษตรกรรม โดยภาพรวมพื<นที เกษตรกรรมของจังหวัดสุรินทร์เพิ มขึ<นจาก
                  3,860,924  ไร่ ในปี พ.ศ. 2549  เป็น   3,921,278  ไร่ ในปี พ.ศ. 2554  เพิ มขึ<น 60,354  ไร่ หรือเพิ มขึ<น

                  ร้อยละ 1.56 ของเนื<อที เดิม เมื อพิจารณาเป็นรายพืชที สําคัญ มีรายละเอียดดังนี<
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81