Page 71 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 71

56





                  และเปลี ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนในประเทศให้เข้าใจ รวมทั<งสามารถใช้ประโยชน์จาก

                  ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั งยืน


                        3.1.3   สถานการณ์การใช้ที ดิน  จังหวัดสุรินทร์  ปี พ.ศ. 2554 ในเขตชลประทาน
                             โครงการชลประทานในจังหวัดสุรินทร์มีเป้ าประสงค์เพื อให้มีแหล่งนํ<าต้นทุนสําหรับ

                  เกษตรอินทรีย์อย่างเต็มศักยภาพ โดยที เกษตรกรทั<งนอก และในพื<นที ชลประทานมีนํ<าใช้อย่างพอเพียง

                  (โครงการชลประทานสุรินทร์, 2552)  ซึ งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์หลักของจังหวัดที เน้นด้านการ

                  พัฒนาเกษตรอินทรีย์ ด้วยการเพิ มผลผลิต และคุณภาพของข้าวหอมมะลิอินทรีย์ โดยให้การสนับสนุน
                  ด้านปัจจัยการผลิตทางด้านนํ<าให้แก่เกษตรกร  จากข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของกรมชลประทาน

                  พบว่าในจังหวัดสุรินทร์มีพื<นที ในโครงการชลประทาน อยู่ 18 โครงการหลัก  คือ อ่างเก็บนํ<าห้วยเสนง

                  อ่างเก็บนํ<าบ้านทํานบ อ่างเก็บนํ<าห้วยด่าน  อ่างเก็บนํ<าห้วยลําพอก  อ่างเก็บนํ<าห้วยแก้ว อ่างเก็บนํ<า
                  ห้วยตาเกาว์ อ่างเก็บนํ<าอําปึล อ่างเก็บนํ<าหนองกระทุ่ม อ่างเก็บนํ<าขนาดมอญ อ่างเก็บนํ<าบ้านเกาะแก้ว

                  อ่างเก็บนํ<าห้วยระหาร อ่างเก็บนํ<าสุวรรณาภา อ่างเก็บนํ<าลุงปุง อ่างเก็บนํ<าลุมพุก อ่างเก็บนํ<าหนองกา

                  ระบบกระจายนํ<าฝายตะลุง  ฝายบ้านไพศาล  ฝายบ้านกุดชุมแสง  และโครงการสูบนํ<าด้วยไฟฟ้ า
                  รวมเนื<อที  175,588 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.46 ของเนื<อที จังหวัด ซึ งมุ่งเน้นให้มีการผลิตข้าวเป็นหลัก

                  รวมทั<งพืชนอกฤดูกาลในบางพื<นที  ผลจากการซ้อนทับข้อมูลขอบเขตชลประทานเชิงเลขกับแผนที

                  การใช้ที ดินจังหวัดสุรินทร์ปี พ.ศ. 2554 พบว่ามีการใช้ที ดินหลากหลายประเภท โดยมีรายละเอียดดังนี<
                  (ตารางที  5 และภาพที  29)

                             1)    พื<นที ชุมชนและสิ งปลูกสร้าง  มีเนื<อที  29,252  ไร่ หรือร้อยละ 16.66  ของเนื<อที

                  ในเขตชลประทานทั<งหมด ประกอบด้วย ตัวเมืองและย่านการค้า คือ อําเภอกาบเชิง อําเภอปราสาท

                  และอําเภอรัตนบุรี หมู่บ้าน สถานที ราชการและสถาบันต่างๆ
                             2)    พื<นที เกษตรกรรม มีเนื<อที  125,701 ไร่ หรือร้อยละ 71.59 ของเนื<อที ในเขตชลประทาน

                  ทั<งหมด ประกอบไปด้วย

                                   (1)  นาข้าว ซึ งเป็นสัดส่วนการใช้ที ดินในเขตชลประทานที มากที สุด มีเนื<อที
                  112,805 ไร่ ร้อยละ 64.24 ของเนื<อที ในเขตชลประทานทั<งหมด กระจายตัวอยู่ทั วทุกโครงการ

                                   (2)  พืชไร่อื น ๆ มีเนื<อที  571  ไร่ ร้อยละ 0.33  ของเนื<อที ในเขตชลประทาน

                  ทั<งหมด ได้แก่ ปอแก้ว พบมากในเขตโครงการอ่างเก็บนํ<าบ้านห้วยด่าน อําเภอกาบเชิง ส่วนใหญ่ปลูก

                  บนกลุ่มชุดดินที  41
                                   (3)  อ้อย มีเนื<อที  3,255  ไร่ ร้อยละ 1.85  ของเนื<อที ในเขตชลประทานทั<งหมด

                  พบมากในเขตโครงการอ่างเก็บนํ<าห้วยด่าน อําเภอกาบเชิง และในโครงการอ่างเก็บนํ<าบ้านทํานบ

                  อําเภอบัวเชด ส่วนใหญ่ปลูกบนกลุ่มชุดดินที  41
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76