Page 78 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 78

63





                  อําเภอสนม อําเภอโนนนารายณ์ อําเภอสําโรงทาบ และตอนบนของอําเภอเมืองสุรินทร์ และ

                  เปลี ยนแปลงจากพื<นที ปลูกพืชไร่อื น ๆ ในปี พ.ศ. 2549 อีก 37,514 ไร่ พบมากในบริเวณตอนล่างของ

                  จังหวัด ในบริเวณอําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอสังขะ และอําเภอบัวเชด (รายละเอียดดัง
                  ตารางที  7 และภาพที  44) ในขณะเดียวกันพบว่า พื<นที ปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2549 ได้เปลี ยนแปลงไปเป็น

                  การใช้ที ดินประเภทอื น ๆ ในปี  พ.ศ. 2554 เช่นเดียวกัน โดยเปลี ยนเป็นพื<นที ปลูกยางพารามากที สุด

                  4,310 ไร่ และรองลงมา ได้แก่ พื<นที ปลูกยูคาลิปตัส 2,175 ไร่ และพื<นที ปลูกมันสําปะหลังอีก 1,464 ไร่

                  (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  45)
                                   (4)  มันสําปะหลัง มีเนื<อที เพิ มขึ<น 55,060 ไร่ หรือเพิ มขึ<นร้อยละ 128.76 ของเนื<อที

                  เดิม จาก 42,763 ไร่ ในปี พ.ศ. 2549 เป็น 97,823 ไร่ ในปี พ.ศ. 2554 (รายละเอียดดังตารางที  6)  ซึ งมีพื<นที

                  ปลูกเดิมจาก ปี พ.ศ. 2549 คงเหลืออยู่ 18,047 ไร่ และเพิ มขึ<นโดยเปลี ยนแปลงมาจากพื<นที ปลูกพืชไร่อื นๆ

                  ในปี พ.ศ. 2549 ถึง 41,379  ไร่ และนาข้าว 14,153  ไร่ ซึ งพบมากในบริเวณตอนล่างของจังหวัด ในบริเวณ
                  อําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอสังขะ และอําเภอบัวเชด  และบางส่วนของอําเภอท่าตูม เมื อนําไป

                  วิเคราะห์กับข้อมูลกลุ่มชุดดิน พบว่าพื<นนาข้าวในปี พ.ศ. 2549 ที เปลี ยนไปเป็นพื<นที ปลูกมันสําปะหลังใน

                  ปี พ.ศ. 2554 ส่วนใหญ่เป็นพื<นที นาข้าวในดินดอน หรือนาดอน โดยเฉพาะในกลุ่มชุดดินที  40 และ 41 ซึ ง
                  มีเนื<อดินเป็นดินทราย และการระบายนํ<าค่อนข้างดี ทําให้ผลผลิตข้าวไม่ดีเท่าที ควร เกษตรกรจึงเปลี ยนการ

                  ใช้ที ดินมาปลูกมันสําปะหลังทดแทน นอกจากนี<ยังพบว่าเปลี ยนแปลงจากมาพื<นที ปลูกยูคาลิปตัสอีก

                  10,937 ไร่ ซึ งพบมากบริเวณอําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอปราสาท อําเภอสังขะ อําเภอท่าตูม และ
                  อําเภอรัตนบุรี (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  46)  ในขณะเดียวกันพบว่าพื<นที ปลูกมันสําปะหลังใน

                  ปี พ.ศ. 2549  มีการเปลี ยนแปลงประเภทการใช้ที ดินเป็นประเภทอื น ๆ ได้แก่ พื<นที ปลูกยางพาราใน

                  ปี พ.ศ. 2554  รวมเนื<อที 14,313  ไร่ และรองลงมา ได้แก่ เป็นพื<นที ปลูกอ้อยจํานวน 5,646  ไร่  ซึ งพบมาก
                  บริเวณอําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอปราสาท อําเภอสังขะ (รายละเอียดดังตารางที  7  และภาพที  47)

                                   (5)  ไม้ยืนต้นอื นๆ ได้แก่ ไม้ยืนผสม ปาล์มนํ<ามัน สัก สะเดา สนประดิพัทธ์ ประดู่

                  หม่อน ไผ่ หมาก กฤษณา และตะกู มีเนื<อที เพิ มขึ<น  1,263 ไร่ หรือเพิ มขึ<นร้อยละ 69.43 ของเนื<อที เดิม จาก

                  1,824 ไร่ ในปี พ.ศ.  2549 เป็น 3,087 ไร่ ในปี พ.ศ.  2554 (รายละเอียดดังตารางที  6) ซึ งมีพื<นที ปลูกเดิมจาก
                  ปี พ.ศ. 2549  คงเหลือ1,095ไร่ และเพิ มขึ<นมาจากพื<นที ปลูกพืชไร่อื น ๆ ในปี พ.ศ. 2549  มีเนื<อที   1,308  ไร่

                  พบมากในอําเภอบัวเชด  รองลงมาได้แก่เปลี ยนแปลงจากพื<นที นาข้าวจํานวน 336  ไร่ และพื<นที เบ็ดเตล็ด

                  128  ไร่ โดยเปลี ยนแปลงไปปลูกไม้ยืนต้น เช่น หม่อน ตะกู สัก และกฤษณา (รายละเอียดดังตารางที  7)
                  แต่ในขณะเดียวกันพบว่าพื<นที ปลูกไม้ยืนต้น ในปี พ.ศ.  2549 ได้เปลี ยนแปลงประเภทการใช้ที ดินไปเป็น

                  ประเภทอื น ๆ  ในปี  พ.ศ.  2553  เพียงเล็กน้อย เปลี ยนแปลงไปเป็ นพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส อ้อย

                  ยางพารา และมันสําปะหลัง เป็นต้น รวมเนื<อที  630 ไร่
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83