Page 77 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 77

62





                                   (1)  นาข้าว มีเนื<อที ลดลง 110,534  ไร่ หรือลดลงร้อยละ 3.15 ของเนื<อที เดิม

                  จาก 3,512,736 ไร่ ในปี พ.ศ. 2549 เป็น 3,402,202 ไร่ (รายละเอียดดังตารางที  6) โดยมีพื<นที นาข้าวเดิม

                  ที คงเหลือจากปี พ.ศ. 2549 มีเนื<อที  3,364,926  ไร่ ซึ งเปลี ยนแปลงไปเป็นพื<นที ปลูกอ้อยมากที สุด
                  49,620 ไร่ รองลงมาคือพื<นที ปลูกยางพารา 43,496 ไร่  (รายละเอียดดังตารางที  7) พบมากบริเวณตอนใต้

                  ของจังหวัด ในบริเวณอําเภอศรีณรงค์ อําเภอสังขะ อําเภอกาบเชิง อําเภอพนมดงรัก อําเภอปราสาท และ

                  อําเภอบัวเชด และบริเวณตอนบนของจังหวัด ได้แก่ อําเภอจอมพระ อําเภอสนม และอําเภอโนนนารายณ์

                  นอกจากนี<ยังพบว่าเปลี ยนเป็นพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส 21,775  ไร่ พบมากในบริเวณ อําเภอสําโรงทาบ
                  อําเภอศรีณรงค์ อําเภอสังขะ อําเภอบัวเชด อําเภอกาบเชิง อําเภอลําดวน อําเภอพนมดงรัก อําเภอ

                  ปราสาท อําเภอจอมพระ อําเภอท่าตูม และอําเภอชุมพลบุรี (ภาพที  40) แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าในปี

                  พ.ศ. 2554 มีพื<นที นาข้าวที เปลี ยนแปลงเพิ มขึ<นมาจากพื<นที การใช้ที ดินประเภทอื น ๆ ในปี พ.ศ. 2549 ได้แก่

                  พื<นที เบ็ดเตล็ดในปี  พ.ศ. 2549  มีเนื<อที มากที สุด คือ  28,837  ไร่ ซึ งเปลี ยนแปลงมาจากพื<นที ลุ่ม
                  ไม้ละเมาะ และทุ่งหญ้าตามลําดับ พบมากบริเวณอําเภอรัตนบุรี อําเภอสนม อําเภอโนนนารายณ์ และ

                  อําเภอท่าตูม นอกจากนี<ยังพบว่ามีพื<นที นาข้าวในปี พ.ศ. 2554   ที เปลี ยนแปลงมาจากพื<นที ปลูกพืชไร่

                  ในปี พ.ศ.  2549  มีเนื<อที  3,111 ไร่ และพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส ในปี พ.ศ.  2549   มีเนื<อที  1,972 ไร่ ตามลําดับ
                  (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  41)

                                   (2)  พืชไร่อื นๆ ได้แก่  พืชไร่ผสม ปอแก้ว ปอกระเจา ข้าวโพด แตงโม และพริก

                  มีเนื<อที ลดลง 152,441  ไร่ หรือลดลงร้อยละ 95.99  ของเนื<อที เดิม จาก 158,807  ไร่ ในปี พ.ศ. 2549  เป็น
                  6,366 ไร่ ในปี พ.ศ. 2554 (รายละเอียดดังตารางที  6) โดยมีพื<นที พืชไร่อื น ๆ เดิมที คงเหลือจากปี พ.ศ. 2549

                  อยู่   3,008  ไร่ นอกจากนั<นได้เปลี ยนแปลงไปเป็นพื<นที ปลูกพืชเชิงเดี ยวเพิ มขึ<น เนื องจากราคาผลผลิตที

                  สูงขึ<น เปลี ยนแปลงไปเป็นพื<นที ปลูกยางพารา 41,507  ไร่ พื<นที ปลูกมันสําปะหลัง 41,379 ไร่ พื<นที ปลูก
                  อ้อย 37,514  ไร่ และพื<นที ปลูกยูคาลิปตัส 20,500  ไร่ ซึ งพบมากในบริเวณตอนล่างของจังหวัด ในอําเภอ

                  พนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอสังขะ อําเภอบัวเชด อําเภอปราสาท และอําเภอศรีณรงค์ และบางส่วนใน

                  อําเภอท่าตูม (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  42) ในขณะเดียวกันพบว่าในปี พ.ศ. 2554 พื<นที ปลูกพืช

                  ไร่อื น ๆ ได้เปลี ยนแปลงเพิ มขึ<น มาจากพื<นที การใช้ที ดินประเภทอื น ๆ ในปี พ.ศ. 2549 ได้แก่  พื<นที ปลูก
                  ยูคาลิปตัส จํานวน 2,030  ไร่ นาข้าว จํานวน   442  ไร่ และมันสําปะหลังจํานวน 293  ไร่  ตามลําดับ

                  (รายละเอียดดังตารางที  7 และภาพที  43)

                                   (3)  อ้อย มีเนื<อที เพิ มขึ<น  100,416  ไร่ หรือเพิ มขึ<นร้อยละ 533.56 ของเนื<อที เดิม
                  จาก 18,820  ไร่ ในปี พ.ศ. 2549  เป็น 119,236  ไร่ ในปี พ.ศ. 2554 (รายละเอียดดังตารางที  6)  มีพื<นที

                  ปลูกเดิมที คงเหลือจากปี พ.ศ. 2549 อยู่ 10,559 ไร่ และเพิ มขึ<นโดยการเปลี ยนแปลงมาจากพื<นที นาข้าว

                  49,620 ไร่ ซึ งพบมากในบริเวณตอนล่างของจังหวัด ในอําเภอพนมดงรัก อําเภอกาบเชิง อําเภอสังขะ

                  อําเภอบัวเชด อําเภอปราสาท และอําเภอศรีณรงค์  และบางส่วนในอําเภอท่าตูม อําเภอจอมพระ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82