Page 9 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 9

8



                          2.5   การศึกษาการจัดการกลุมดินเพื่อใหมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชชนิดตางๆ

                         ในหัวขอนี้ไดแบงขั้นตอนการดําเนินงานออกเปน 2 ขั้นตอนดวยกันคือ


                         2.5.1  การเลือกชนิดพืชที่จะใชปลูก ซึ่งพิจารณาจาก

                         1) ชนิดพืชที่เกษตรกรคุนเคย และนิยมปลูก  ซึ่งอาจคลายกันหรือแตกตางกันไป  ตามภูมิภาคที่ดิน

                  กลุมนั้นๆ  แพรกระจายอยู   ชนิดพืชที่มีพื้นที่ปลูกมาก และนิยมปลูกในปจจุบันโดยพิจารณาตามภูมิภาค

                  ที่ดินกลุมนั้นแพรกระจายอยู


                         2) รายงานแนวทางการพัฒนาการเกษตร และสหกรณของภูมิภาค ซึ่งจัดทําโดยสํานักงาน

                  เศรษฐกิจการเกษตร



                         3) ชั้นความเหมาะสมของกลุมดินในสภาวะการณตางๆ ดังที่ไดจัดไวในขอ 2.2


                         2.5.2  การจัดการเพื่อแกปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืชของกลุมดิน


                         ขั้นตอนนี้ไดดําเนินการ 3 สวน คือ 1) ประมวลผลการวิจัย ของนักวิจัยทางปฐพีวิทยา ซึ่งมี

                  วัตถุประสงคในการขจัดปญหา และขอจํากัดของกลุมดินตางๆ ในการปลูกพืช 2) วินิจฉัยขอมูลอยางรอบ
                  ดาน  แลวกําหนดมาตรการสําหรับแกปญหา และขอจํากัดนั้นๆ และ 3) สําหรับดินบางชนิดหรือบางกลุม ที่

                  ยังมีขอมูลไมเพียงพอสําหรับการขจัดปญหา ในกรณีเชนนี้ การกําหนดมาตรการในการแกปญหา จะอาศัย

                  แนวคิดทางทฤษฎีไปกอน ตอเมื่อมีขอมูลเพียงพอและรอบดาน จึงคอยปรับปรุงมาตรการใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

                  ในโอกาสตอไป
                         2.5.3    การจัดการกลุมดินเพื่อดํารงผลิตภาพสูงอยางยั่งยืน  เปนการจัดการเพื่อรักษาความอุดม

                  สมบูรณ  สมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดินใหดีอยางตอเนื่อง   โดยเนนเรื่องระบบการปลูกพืช

                  การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบํารุงดิน  รวมทั้งการใชปุยเคมี และปุยอินทรียในอัตราที่เหมาะสม  โดย

                  พิจารณาจากสมบัติของกลุมดิน และความตองการธาตุอาหารของพืชแตละชนิด  ขอมูลสวนนี้ประมวลมา
                  จากผลการวิจัยของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน กรมวิชาการเกษตร  กรมพัฒนาที่ดิน กรมสงเสริม

                  การเกษตร และสถาบันการศึกษาตางๆ


                         นอกจากการจัดการดังกลาวแลว ยังไดพิจารณากําหนดมาตรการในการอนุรักษดิน และน้ําที่

                  เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สมบัติของดิน และความเปนไปไดในทางปฏิบัติ สําหรับผูใชที่ดินในแตละระดับอีก
                  ดวย   สําหรับมาตรการที่เสนอแนะดังกลาวไดพิจารณาจากสมบัติของกลุมดิน  และผลการวิจัยของ

                  นักวิชาการจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14