Page 4 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 4

3



                          1.3 เปาหมายของโครงการ


                         กรมพัฒนาที่ดินมีเปาหมายในทําโครงการนี้ 3 ประการ คือ


                         1.3.1 ไดมาตรการ และวิธีการในการแกไขปรับปรุงสมบัติของดิน ตลอดจนมาตรการในการอนุรักษ

                  ดินและน้ํา ที่เกษตรกรทุกคนนําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ  เพื่อเพิ่มศักยภาพ และผลิตภาพของดินใน
                  การเกษตร และคงสมรรถนะการใชประโยชนดานเกษตรกรรมอยางเหมาะสมไดตลอดไป


                         1.3.2 ไดระบบคอมพิวเตอรและโปรแกรมในการจัดเก็บและเรียกใชขอมูล  เกี่ยวกับการจัดการกลุม

                  ดินที่งาย สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

                         1.3.3 ไดแนวทางการวางแผนโครงการศึกษาวิจัย  เกี่ยวกับการจัดการดิน และการพัฒนาที่ดิน  ซึ่ง

                  สอดคลองกับปญหาของกลุมดิน และการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจสังคมในอนาคต

                  2. ขั้นตอนการดําเนินงาน


                         การดําเนินงานของโครงการศึกษามีขั้นตอน ดังนี้

                          2.1 การศึกษารวบรวมและบันทึกขอมูลเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของกลุมชุดดินแตละ

                  กลุม ขอมูลดังกลาว ประกอบดวย

                         2.1.1 ขอมูลกายภาพ และสิ่งแวดลอมของดิน ซึ่งประกอบดวย

                         สภาพภูมิอากาศ ซึ่งไดแก ปริมาณน้ําฝน   ความชื้นสัมพัทธ และ อุณหภูมิในภาคตาง ๆ ที่พบดิน

                  กลุมนั้น ๆ แพรกระจายอยู  ขอมูลที่นําเสนอเปนคาที่เกิดจากการเฉลี่ยขอมูลในชวงป 2517-2547 ในแตละ

                  สถานีน้ําฝนที่ไดจากกรมอุตุนิยมวิทยา  การสรางเสนชั้นน้ําฝนทําโดยการประมาณคาในชวงดวยวิธี
                  krigging  และปรับใหเสนราบเรียบ


                         1)  วัตถุตนกําเนิดของดินในกลุมอยางกวางๆ

                         2)  สภาพธรณีสัณฐานที่ดินชนิดตางๆ ในกลุมแพรกระจายอยู


                         3) สภาพพื้นที่ และความลาดชัน

                         4) สภาพการระบายน้ํา การเก็บกักน้ํา  การแทรกซึมและซาบซึมน้ํา  ของแตละชุดดินในกลุมและ

                  ภาพรวมของกลุมดิน  ชลประทาน  จํานวน และขนาดของโครงการชลประทานซึ่งเก็บรวบรวมทุกเว็บไซดที่

                  จัดทําโดยกรมชลประทาน


                         5) พืชพรรณ และการใชประโยชนที่ดินของกลุมดินโดยทั่วไป

                         6) ปริมาณกรวดหินที่พบบนผิวดิน (ถามี)

                         7) สภาพการชะลางพังทลายของชุดดินตางๆ ในกลุม
   1   2   3   4   5   6   7   8   9