Page 6 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 6
5
ตารางที่ ก2 ระดับความอุดมสมบูรณของดินประเมินจากผลการวิเคราะหดิน
ความจุในการ ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม ที่
อินทรียวัตถุ ความอิ่มตัวดวยเบส
ระดับ แลกเปลี่ยนแคต เปนประโยชน แลกเปลี่ยนได
(%) (%)
ไอออน (cmol /kg) (มก./กก.) (มก./กก )
c
ต่ํามาก < 0.5 - < 3 <3 < 30
ต่ํา 0.5-1.0 <35 3-5 3-5 30-60
คอนขางต่ํา 1.1-1.5 - 6-10 6-10 -
ปานกลาง 1.6-2.5 35-75 11-15 11-15 60-90
คอนขางสูง 2.5-3.5 - 16-20 16-25 -
สูง 3.6-4.5 >75 21-30 26-45 91-120
สูงมาก >4.5 - >30 >45 >120
การจัดระดับความอุดมสมบูรณของดินเปน 7 ระดับนั้น เหมาะสําหรับงานทางวิชาการ อยางไรก็
ตามเพื่อความสะดวกของผูใชคูมือนี้ จึงไดรวมใหเหลือพอสังเขปเพียง 3 ระดับคือ ต่ํา ปานกลาง และสูง
ดังตารางที่ ก3
ตารางที่ ก3 ระดับความอุดมสมบูรณของดินโดยสังเขป ประเมินจากผลการวิเคราะหดิน
ความจุในการ ฟอสฟอรัสที่ โพแทสเซียม ที่
อินทรียวัตถุ ความอิ่มตัวดวยเบส
ระดับ แลกเปลี่ยนแคต เปนประโยชน แลกเปลี่ยนได
(%) (%)
ไอออน (cmol / kg) (มก./กก.) (มก./กก )
c
ต่ํา < 1.5 < 35 < 10 < 10 < 60
ปานกลาง 1.5-3.5 35-75 10-20 10-25 60-90
สูง 3.5 >75 > 20 > 25 > 90
จากขอเท็จจริงที่วาความอุดมสมบูรณของดินแตละชนิดมิไดคงที่ แตผันแปรไปตามเหตุปจจัย
ภายนอกที่หลากหลาย เพื่อใหไดขอมูลที่ใกลเคียงกับสภาพปจจุบันมากกวาเดิม ในการปรับปรุงรายงาน
การจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุมชุดดินครั้งนี้ (พ.ศ.2548) ไดรวมรวบผลการ
วิเคราะหดินกอนปลูกพืช ที่นักวิจัยดําเนินการทดลองกับชุดดินตางๆทั่วประเทศ ในรอบ 20 ปที่ผานมา
แลวนํามาประมวลโดยวิธีการทางสถิติ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกับขอมูลระดับความอุดมสมบูรณของแตชุด
ดิน และภาพรวมของแตละกลุมชุดดิน ซึ่งมีอยูในรายงานฯ ฉบับเดิม (พ.ศ. 2541) ผลการเปรียบเทียบ
เปนไปตามสมมติฐาน กลาวคือการใชพื้นที่เพื่อการเกษตรในชวงเวลาที่ผานมา ไดทําใหระดับความอุดม
สมบูรณของแตชุดดิน และภาพรวมของแตละกลุมชุดดินเปลี่ยนแปลงไปมากพอสมควร จึงไดใชขอมูลชุด
ใหมนี้แทน เพื่อใหใกลเคียงกับสภาพความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดดิน และกลุมชุดดินในปจจุบัน