Page 622 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 622

608



                  หรือไมโตเร็ว เชน ยูคาลิปตัส กระถินยักษ กาแฟอราบิกา หรือไมยืนตนอื่นที่ไมตองไถพรวน และเปนพืชที่มี

                  ใบ กิ่ง กาน  ปกคลุมผิวดิน ซึ่งจะชวยลดการชะลางพังทลายลงไดบางสวน  อยางไรก็ตามการใชประโยชน
                  กลุมชุดดินนี้จะมีประสิทธิภาพสูง หากใชระบบการเกษตรแบบผสมผสานระหวางการปลูกพืชไร พัฒนาเปน

                  ทุงหญา เลี้ยงสัตว และการปลูกไมโตเร็ว หรือปลูกไมผลบางชนิด เชน มะมวง ขนุน มะขามหวาน และกลวย

                  น้ําวา เปนตน  การเลือกกิจกรรมตางๆ มาผสมผสานกันนั้น ทุกกิจกรรมตองเอื้อประโยชนตอกัน เชน เมื่อ

                  เลี้ยงสัตวควบคูกับการปลูกไมผลและพืชไร ก็ใชเศษพืชเปนอาหารสัตว แลวนํามูลสัตวมาเปนปุยบํารุงดิน

                  นอกจากนี้กิจกรรมที่เลือกมาตองเหมาะกับสภาพพื้นที่ แหลงน้ํา ทักษะของเกษตรกร แหลงทุน และความ
                  ตองการผลผลิตของตลาดในทองถิ่นและนอกทองถิ่น


                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         8.1.1 ปญหาดินคอนขางเปนทราย มีอินทรียวัตถุ และความชื้นในดินต่ํา


                         1) เพิ่มอินทรียวัตถุในดินโดยหวานปุยคอก หรือปุยหมัก อัตรา 1-3 ตัน/ไร

                         2) ใชปุยพืชสดโดยหวานเมล็ดพืชตระกูลถั่ว ไดแก โสนอัฟริกัน ปอเทือง หรือปอเทืองเตี้ย ในอัตรา

                  5 กก./ไร ควรหวานรอฝน หรือตนฤดูฝน (กลางเดือนเมษายน หรือตนเดือนพฤษภาคม) เมื่อพืชตระกูลถั่ว

                  ดังกลาวออกดอก 50 เปอรเซ็นต หรืออายุ 60 วัน จึงทําการไถกลบ หรือสับกลบดินกอนปลูกพืชหลัก

                         8.1.2 ปญหาดินมีการสูญเสียหนาดินเนื่องจากกษัยการ  นํามาตรการอนุรักษดินและน้ํามาใช

                  เชน ทําคันดินขวางความลาดเท รวมทั้งการปลูกพืชเปนแถวขวางความลาดเท รวมทั้งการปลูกพืชแซมใน

                  ระหวางแถวพืชหลักเพื่อการปกปองหนาดิน

                         8.1.3 ปญหาดินมีความอุดมสมบูรณต่ําขาดธาตุอาหารพืชบางธาตุ


                         ใชปุยเคมี ซึ่งทั้งชนิดปุย อัตรา และวิธีการใชจะพิจารณาจากพืชที่ปลูกรวมกับผลการวิเคราะหดินที่
                  แสดงไวในตารางที่ 56.5


                          8.2 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชผัก

                         8.2.1 กะหล่ําดอก  แปลงเพาะกลา และแปลงปลูกขุดดินลึก 15 และ 20 ซม. ตามลําดับ ตากดิน

                  7-10 วัน เก็บวัชพืชใหหมดพรวนดินเปนกอนเล็กๆ ใสปุยคอก หรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลวคลุกเคลาใหทั่ว

                  แปลง และมีระยะปลูกระหวางตน และแถวหาง 50 และ 60 ซม. ตามลําดับ

                         8.2.2 พริก  แปลงปลูกและแปลงเพาะกลาควรไถดินลึก 20-25  และ15 ซม. ตามลําดับ แลวตาก

                  ดินไว 5-7 วัน ใสปุยคอก หรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว 3-4 ตัน/ไร พรวนยอยชั้นผิวหนาดิน จากนั้นใสปุย

                  สูตร 15-15-15 อัตรา 100-200 กรัม/ตร.ม. พรวนกลบดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน
   617   618   619   620   621   622   623   624   625   626   627