Page 627 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 627

613



                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 56 ประกอบดวยชุดดินลาดหญา โพนงาม และภูสะนา เกิดจากการสลายตัวของหินชั้นและ

                  หินอัคนีเนื้อหยาบ  พบบริเวณที่เหลือคางจากการกรอนและเนินเขา  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงที่

                  ลาดเชิงเขา มีความลาดเทอยูระหวาง 2-35  เปอรเซ็นต  เนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงรวนเหนียวปนทราย

                  และมีเศษหินในดินชั้นลางที่ความลึกประมาณ 1 เมตร จัดเปนดินลึกปานกลาง การระบายน้ําดี ความอุดม
                  สมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มีการใชประโยชนในการปลูกพืชไร แตบางสวนยังคงสภาพปาเต็งรังและปาเบญจ

                  พรรณ


                         ศักยภาพในการใชประโยชนของที่ดิน คือ 1) พื้นที่ซึ่งมีความลาดเทนอยกวา 12 เปอรเซ็นต ใชปลูก
                  พืชไร  และพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว  และ 2) ถาความลาดเทสูงกวานี้ ควรรักษาไวเปนพื้นที่ปาไม หรือ

                  ปลูกปาทดแทนในสวนที่ถูกทําลาย  สําหรับปญหาหรือขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก การชะลาง

                  พังทลายของหนาดินรุนแรง ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ดินมีชั้นหินที่กําลังสลายตัวอยูในดินชั้นลาง  ซึ่ง

                  เปนอุปสรรคตอการปลูกไมผลหรือไมยืนตน และขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก เนื่องจากระบบชลประทาน

                  เขาไมถึงและแหลงน้ําธรรมชาติมีนอย  ควรใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 56  ดวยระบบการเกษตรแบบ
                  ผสมผสาน ระหวางการปลูกพืชไร พัฒนาทุงหญาและเลี้ยงสัตว รวมกับการปลูกไมโตเร็วในเชิงอนุรักษหรือ

                  วนเกษตร
   622   623   624   625   626   627   628   629   630   631   632