Page 617 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 617

603



                         3.2.2 ชุดดินภูสะนา (Phu Sana series: Ps)

                         จัดอยูใน fine-loamy, mixed, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults เกิดจากการสลายตัวของ
                  หินแกรนิต สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 3-8 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดิน

                  ลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานเร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน

                  ปานกลางถึงเร็ว

                         ดินบนลึกไมเกิน 15  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีเขมของน้ําตาลปนเทา หรือสี
                  น้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5) ดินบนตอนลางลึก 15-30 ซม. เนื้อดินเปน

                  ดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาลถึงสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-

                  6.0) สวนดินตอนลางลึกตั้งแต 30  ซม.ลงไป เนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย ถึงดินรวนปนดินเหนียว สี

                  แดงปนสีเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5) จะพบกอนกรวดที่เปนแรหรือหินควอรตไซต
                  เพิ่มมากขึ้นตามความลึกของดิน ในระดับความลึก 80 ซม.ลงไป จะพบหินแกรนิตที่กําลังสลายตัว


                         3.2.3 ชุดดินลาดหญา (Lat Ya series: Ly)
                         จัดอยูใน fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults เกิดจากสลายตัวของ

                  หินทราย หินควอรตไซตที่เคลื่อนที่มาทับถมโดยแรงดึงดูดของโลก และที่ผุพังอยูกับที่บนที่ราบเชิงเขา และ

                  พื้นผิวที่เหลือคางจากการกัดกรอน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบจนถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน มี

                  ความลาดชันประมาณ 2-10 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี มีความสามารถให

                  น้ําซึมผานปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือเปนดินรวน สีพื้นเปนสีเขมของน้ําตาล

                  ปนเหลือง, สีน้ําตาลเขม หรือสีเขมของน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-7.0) สวนดินลางมี

                  เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย, ดินรวนเหนียว  ดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาล หรือสี

                  น้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-7.0) สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย, ดินรวน
                  ปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทราย สีพื้นเปน สีน้ําตาล น้ําตาลแก น้ําตาลปนแดง หรือสีแดงปนเหลือง

                  และจะพบชั้นของกอนควอรตไซต และดินทรายปะปนอยูในดินที่ระดับความลึกมากกวา 50 ซม. แตไมเกิน

                  150 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
   612   613   614   615   616   617   618   619   620   621   622