Page 538 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 538

524




                  ตารางที่ 51.1 (ตอ) สภาพภูมิอากาศ และปริมาณน้ําฝนรายปของจังหวัดตางๆ ที่พบกลุมชุดดินที่ 51

                                                                                อุณหภูมิเฉลี่ย/ป ความชื้นสัมพัทธ
                                                     ปริมาณน้ําฝน  การระเหยน้ํา
                         ภาค         จังหวัด                                    (องศาเซลเซียส)   เฉลี่ย/ป (%)
                                                       (มม./ป)      (มม./ป)
                                                                                 ชวง   เฉลี่ย   ชวง   เฉลี่ย
                   ใต               พังงา           2,100-4,000   1,500-1,540  23-33   27     67-96   84

                                     ระนอง           2,000-4,000   1,530-1,560  23-32   27     63-93   81
                                     ตรัง            2,100-2,300   1,500-1,540  23-33   27     60-96   82

                                     นราธิวาส        1,600-2,300   1,560-1,570  24-32   27     67-94   82
                                     ปตตานี         1,500-1,800   1,560-1,570  23-32   27     61-95   81
                                     พัทลุง          2,000-3,000   1,540-1,560  24-32   28     64-94   82

                                     ยะลา            1,600-2,300   1,560-1,570  24-32   27     64-94   82
                                     สงขลา           1,600-2,300   1,560-1,570  23-32   27     63-94   81

                                     สตูล            2,100-2,300   1,540-1,560  24-33   28     60-91   79


                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินดินดาน ฟลไลต หินควอรตไซต

                  หินทราย หรือหินกรวดเหลี่ยม

                          1.3 ภูมิสัณฐาน : พื้นที่ที่เหลือคางจากการกรอน ที่ลาดเชิงเขาถึงภูเขา


                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท : ลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา มีความลาดเทอยูระหวาง 5-35
                  เปอรเซ็นต


                          1.5 สภาพการระบายน้ําของดิน : ดีถึงดีเกินไป

                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปาดงดิบ บางสวนใชปลูกยางพารา กลวย และเปนทุงหญา

                  หรือปาละเมาะตามธรรมชาติ  สําหรับพื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 51

                  แสดงไวในตารางที่ 51.2

                  ตารางที่ 51.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 51


                                                            พื้นที่ชลประทาน   ความจุ   โครงการขนาด  โครงการ
                         ภาค         เขต     จังหวัด
                                                                (ไร)      (ลาน ม. )   ใหญและกลาง  ขนาดเล็ก
                                                                                 3
                   ตะวันออก           2      จันทบุรี          79,900         12.5         8           3
                                             ฉะเชิงเทรา       708,700         44.2         5           4

                                             ชลบุรี            57,700        172.7         13          4
                                             ตราด              79,050         33.2         10          3
                                             ระยอง            120,800        240.7         10          1

                                             สระแกว           56,180         83.7         10          0
   533   534   535   536   537   538   539   540   541   542   543