Page 542 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 542

528



                         3.2.2 ชุดดินระนอง (Ranong series: Rg)

                         จัดอยูใน loamy skeletal, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic Lithic Udorthents เกิด
                  จากการผุพังสลายตัวของวัตถุตกคางและหินดินดาดเชิงเขาของพวกหินทราย และหินควอรตไซต บนที่ลาด

                  เชิงเขา หรือบนพื้นผิวที่เหลือคางจากการกัดกรอน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนชัน จนถึง

                  สภาพพื้นที่เนินเขา มีความลาดชัน 6-20 เปอรเซ็นต ดินชุดนี้เปนดินตื้นมาก การระบายน้ํามากเกินไป มีการ

                  ไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร ตลอดป
                         ดินบนลึกไมเกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวน สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม สีน้ําตาล

                  หรือสีเขมของสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)  สวนดินลางภายใน

                  ความลึก 50 ซม.ลงไป มีเนื้อดินเปนดินรวนปนกรวดมาก หรือดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดมาก ซึ่งในชั้น

                  นี้จะมีเศษหินในขนาดตางๆ กัน หินและกอนกรวดที่พบ เปนพวกหินทรายและหินควอรตไซต สีพื้นเปนสี
                  น้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.1)  และจะพบหินตนกําเนิดภายใน

                  ความลึก 100 ซม.


                         3.2.3 ชุดดินยี่งอ (Yi-ngo series: Yg)
                         จัดอยูใน loamy skeletal, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Paleudults เกิดจากการ

                  สลายตัวของหินหลายชนิดที่อยูปะปนกัน อาทิ หินควอรตไซต หินทราย หินไมกาชีสต หินดินดาน และหิน

                  กรวดเหลี่ยม สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนชัน ถึงสภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีความลาดชัน 8-20

                  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้จัดเปนดินตื้น มีการระบายน้ําดี มีระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 2เมตร ตลอดป ดินมี
                  ความสามารถใหน้ําซึมผานปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว มักเกิดการสูญเสียหนาดินเสมอ

                  ในขณะฝนตก

                          ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวน สีพื้นเปนเขมของสีน้ําตาลปน

                  เทา ถึงสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.0) ดินชั้นลางเนื้อดินเปนดินรวน
                  ปนเศษหิน ถึงดินรวนเหนียวปนเศษหิน เปนพวกหินทราย หินควอรตไซต หินไมกาชีสต และหินกรวดเหลี่ยม

                  มีสีน้ําตาลเขม ถึงสีน้ําตาลปนแดง ซึ่งโดยทั่วๆ ไปสีจะแดงขึ้นตามความลึก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรด

                  รุนแรงมาก(pH 4.5-5.5)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
   537   538   539   540   541   542   543   544   545   546   547