Page 536 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 536

522



                          9.3 การใชปุยสําหรับไมผล และไมยืนตน

                         9.3.1 เงาะ  ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 2.5 กก./ตน รวมดวยปุยอินทรีย

                  2-3 ปบ โดยใสรอบทรงพุม ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-24 อัตรา 2 กก./ตน  ระยะติดผลใชปุยสูตร

                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน ใชปุยสูตร 12-12-17อัตรา 1 กก./ตน โดย

                  หวานใหทั่วบริเวณทรงพุมแลวใชคราดกลบบางๆ หลังรดน้ํา

                         9.3.2 ปาลมน้ํามัน  การใหปุยปาลมน้ํามันสําหรับกลุมชุดดินที่ 50 แนะนําใหใสปุยยูเรีย 5 กก./ตน
                  รวมกับปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 2 กก./ตน, ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กก./ตน, คีเซอรไรด 1 กก./ตน

                  และโบเรต 90 กรัม/ตน โดยแบงใสยูเรีย, โพแทสเซียมคลอไรด และคีเซอรไรด ใสสองครั้งๆ ละเทาๆ กัน

                  ในชวงตน และปลายฤดูฝน สวนไดแอมโมเนียมฟอสเฟต และโบเรต ใสครั้งเดียวชวงตนฤดูฝน

                         9.3.3 ยางพารา  ยางพารากอนเปดกรีดแบงการใหปุยออกเปน 2 ระยะ คือ 1) ปุยรองกนหลุม ใช

                  ปุยหินฟอสเฟต(0-3-0) อัตรา 170 กรัม/หลุม รวมกับการใชปุยอินทรียในอัตรา 5 กก./ตน/ป ในชวงปแรก

                  และในชวงปที่ 2 ถึง 6 ใหใชปุยอินทรียในอัตรา 2 กก./ตน/ป 2) ปุยบํารุง แนะนําใหใชปุยสูตร 20-8-20 ใน

                  อัตราแตกตางกันตามอายุ คือ ใชในอัตรา 410 กรัม/ตน/ป ในปที่ 1 และใชในอัตรา 620, 640, 660, 720
                  และ 740 กรัม/ตน/ป ในปที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 ตามลําดับ


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 50  มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว ชั้นดินลึกปานกลาง พบชั้นกรวด ลูกรัง

                  กอนกรวดหรือเศษหิน ในระดับความลึกระหวาง 50-100 ซม. เกิดจากการสลายตัวของหินทราย และควอรต

                  ไซต สภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มี
                  ความเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจทั่วๆ ไป เชน ยางพารา  ไมผลชนิดตางๆ และพืชไร อยางไรก็ตาม

                  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้เปนดินลึกปานกลาง บางแหงมีความลาดชันสูง ความอุดมสมบูรณต่ํา  และมีโอกาส

                  ขาดแคลนน้ําในฤดูเพาะปลูก  จึงควรจัดการดินดังนี้ คือ 1) มีการอนุรักษดินและน้ํา 2) ปรับปรุงดินดวยปุย

                  คอก ปุยหมัก หรือปุยพืชสดผสมผสานกับการใชปุยเคมี 3) ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วในระบบ และ
                  4) ปลูกพืชที่มีความเหมาะสมกับสภาพของพื้นที่ เชน  ในที่มีความลาดเทนอยควรปลูกไมผลทุกชนิด พืชไร

                  ทุงหญาเลี้ยงสัตว สวนพื้นที่มีความลาดเทสูง ควรปลูกยางพารา  ไมใชสอยหรือไมโตเร็ว การใชประโยชน

                  กลุมชุดดินนี้จะมีประสิทธิภาพอยางสูงสุด  เมื่อใชระบบเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลูกพืชไร ไมผล ไมยืน

                  ตน ยางพารา ปลูกพืชอาหารสัตวระหวางแถวไมยืนตนบางชนิดและเลี้ยงสัตว
   531   532   533   534   535   536   537   538   539   540   541