Page 528 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 528

514




                  ตารางที่ 50.3 (ตอ) การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 50 ในจังหวัดตางๆ

                           ภาค           เขตพัฒนาที่ดิน             จังหวัด                   เนื้อที่ (ไร)

                   ใต                        12                    สตูล                      2,904.00

                                                 รวมทั้งสิ้น                               1,797,231.51


                  2. การจําแนกดิน


                         ชื่อชุดดิน(soil series)  และการจําแนกระดับวงศ(soil family) ในกลุมชุดดินที่ 50  ตามระบบ
                  อนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy) แสดงไวในตารางที่ 50.4


                  ตารางที่ 50.4 การจําแนกดินระดับวงศดิน

                       ชุดดิน(soil series)   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1975   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1998
                   สวี                     loamy skeletal, mixed           loamy skeletal, mixed, semiactive,

                   (Sawi series: Sw)       Typic Paleudults                isohyperthermic
                                                                           Typic Paleudults

                   พะโตะ                  loamy skeletal, mixed           loamy skeletal, mixed, semiactive,
                   (Phato series: Pto)     Dystropeptic Orthoxic Tropudults    isohyperthermic
                                                                           Typic Hapludults


                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและชุดดินในกลุมชุดดินที่ 50


                         3.1 ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 50 เปนดินลึกปานกลาง ดินบนชวง 50 ซม. เปนดินรวนปนทราย

                  หรือดินรวนเหนียวปนทราย ในระดับความลึกประมาณ 50-100 ซม. จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรัง สีดิน
                  เปนสีน้ําตาล เหลืองหรือแดง เศษหินหรือลูกรังที่พบเปนพวกหินควอรตไซต หรือหินทราย ปฏิกิริยาของดิน

                  เปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5) ดินมีการระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณต่ํา ใชประโยชนในการปลูก

                  ยางพารา ไมผลสับปะรด กลวย แตงโม บางสวนยังคงสภาพเปนปาธรรมชาติอยู

                         3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 50


                                3.2.1 ชุดดินสวี (Sawi series: Sw)
                         จัดอยูใน loamy skeletal, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Paleudults เกิดจากการ

                  ทับถมของตะกอนลําน้ําเกา บนลานตะพักลําน้ําระดับต่ํา และบนลานตะพักลําน้ําระดับกลาง สภาพพื้นที่ที่

                  พบมีลักษณะคอนขางราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกปาน
                  กลาง มีการระบายน้ําดี คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็วในดินบน และปานกลางในดินลาง มี

                  การไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร ตลอดป
   523   524   525   526   527   528   529   530   531   532   533