Page 523 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 523

509



                          9.2 การใชปุยสําหรับพืชผัก

                         9.2.1 คะนา  หลังถอนแยกเมื่อคะนาอายุ 20 วัน ใชปุยสูตร 16-8-8 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา-20

                  และ 10 กก./ไรตามลําดับ

                         9.2.2 พริก  รองพื้นดวยปุยสูตร 15-15-15  อัตรา 50 กก./ไร และหลังจากยายปลูกได 10-14 วัน

                  ควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 10 กก./ไร โรยขางแถวแลวพรวนดินกลบ


                         9.2.3 มะเขือเทศ  กอนปลูกควรปรับปรุงดินดวยปุยคอก และปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 2,000-

                  4,000 และ 80 กก./ไรตามลําดับ และหลังจากปลูกไปแลว 30 วัน ใชปุยสูตร 15-5-20 อัตรา 80 กก./ไร โดย
                  ใสปุยทั้งสองขางแถวแลวพรวนดินกลบ


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 49  ประกอบดวยชุดดินตื้นมากถึงลึกปานกลาง  พบชั้นกรวดลูกรังหรือชั้นเศษหิน

                  ภายในความลึก 50 ซม. พบบริเวณตะพักลําน้ําระดับกลาง สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน

                  มีความลาดเทอยูระหวาง 2-20  เปอรเซ็นต  ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง  สวนดินชั้นลางเปนดินรวน

                  เหนียวปนทรายถึงดินเหนียวปนกรวดลูกรังหรือเศษหินทราย  ดินมีสีน้ําตาล หรือน้ําตาลปนเหลือง ใตชั้น
                  ลูกรังลงไปจะเปนดินเหนียว สีเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีแดง และศิลาแลงออนปะปนอยูในเนื้อดินเปนจํานวน

                  มาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดแกถึงกรดเล็กนอย คาพีเอช 5.0-6.5 ความอุดมสมบูรณอยูของดินต่ํา

                         ศักยภาพของชุดดินกลุมนี้คอนขางไมเหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการปลูกพืชไรและไมผลหรือไม

                  ยืนตน  เนื่องจากดินตื้นถึงตื้นมาก  ไมเหมาะในการทํานาเนื่องจากดินเก็บกักน้ําไมอยู  การชะลางพังทลาย

                  ของหนาดินปานกลางถึงรุนแรงปญหาที่สําคัญ ไดแก ดินตื้น มีการชะลางพังทลายมากดินจึงเสื่อมโทรมเร็ว

                  และขาดแคลนแหลงน้ําในการเพาะปลูก  การจัดการดินควรเนนการอนุรักษดินและน้ําดวยวิธีทางพืช

                  ผสมผสานกับวิธีกล หากใชเพื่อปลูกไมผลหรือไมยืนตนบางชนิด ควรเตรียมหลุมปลูกใหกวาง และผสมปุย
                  อินทรียกับดินในหลุมปลูก การใชประโยชนที่เหมาะสมแบบหนึ่ง คือ พัฒนาเปนทุงหญาและเลี้ยงสัตว ปลูก

                  พืชไรรากตื้น  และไมโตเร็วบางชนิด เชน ยูคาลิปตัส และกระถินยักษ  โดยดําเนินการในระบบเกษตร

                  ผสมผสาน
   518   519   520   521   522   523   524   525   526   527   528