Page 519 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 519

505



                         6.4.2  ใสปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี สําหรับปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมักอัตรา 1-2  ตัน/ไร

                  เพื่อเพิ่มธาตุอาหาร ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน อยางไรก็ตามเนื่องจากการชะ
                  ลางพังทลายของดินในกลุมดินชุดนี้คอนขางรุนแรง  ความอุดมสมบูรณของดินในบางพื้นที่จึงลดลงอยาง

                  รวดเร็ว เปนเหตุใหธาตุอาหารที่ไดรับจากปุยอินทรีย ไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช จําเปนตองเสริม

                  ดวยปุยเคมี สําหรับสูตร อัตรา และวิธีการใชปุยเคมีขึ้นอยูกับชนิดของพืช ซึ่งกลาวไวในหัวขอที่ 9


                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมชุดดินที่ 49  มีศักยภาพไมคอยเหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมผลหรือไมยืนตน

                  เนื่องจากเปนดินตื้นถึงตื้นมาก ไมเหมาะสมในการทํานา  เนื่องจากเปนพื้นที่สูงและเก็บกักน้ําไมได  ควร
                  พัฒนาชุดดินซึ่งมีชั้นหนาดินบางเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว สวนชุดดินซึ่งมีหนาดินหนากวา 15 ซม.ใชปลูกพืชไร

                  ได  การปลูกไมผลหรือไมยืนตนบางชนิด ควรขุดหลุมปลูกใหกวางแลวใชปุยอินทรียผสมกับดินในหลุมปลูก

                  อยางไรก็ตามการใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 49 ควรเนนการเกษตรแบบผสมผสาน เชน ปลูกหญาและเลี้ยง

                  สัตว-พืชไร-ไมโตเร็ว เชน ยูคาลิปตัส กระถินยักษ เปนตน เนื่องจากกิจกรรมเหลานี้เอื้อประโยชนตอกัน การ

                  เลือกกิจกรรมตางๆ มาผสมผสานเปนระบบ ตองพิจารณาสภาพพื้นที่  ทักษะของเกษตรกร แหลงเงินทุน
                  และความตองการผลิตผลของตลาดในทองถิ่นและนอกทองถิ่น


                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         8.1.1 ปญหาดินตื้นมีลูกรังปนและดินมีความชื้นต่ําในบางชวง


                         1) เพิ่มอินทรียวัตถุในดิน โดยใสอัตรา 1-3 ตัน/ไร หรือปลูกพืชปุยสดแลวไถกลบลงดินเมื่อพืชปุยสด
                  อายุประมาณ 60 วัน หรือเมื่อออกดอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต พันธุพืชปุยสดที่แนะ ไดแก ปอเทือง หวาน

                  เมล็ดพืชปุยสดในกลางเดือนเมษายนหรือตนเดือนพฤษภาคม


                         2) ใชวัสดุอินทรียตางๆ เชน ฟางขาว เศษหญา ตอซังขาวโพด เปนตน คลุมดินระหวางแถวปลูกพืช
                  จะชวยรักษาความชื้นในดินและลดวัชพืช และเมื่อวัสดุอินทรียดังกลาวนั้นสลายตัวก็จะชวยเพิ่มอินทรียวัตถุ

                  แกดินอีกดวย


                         3) การไถเตรียมดิน  ควรใหลึกไมนอยกวา 20  ซม.พรอมกับคลุกเคลากับปุยอินทรีย หรือวัสดุ
                  ปรับปรุงดินเพื่อทําใหดินรวนซุย


                         4) พัฒนาแหลงน้ําเสริมในการเพาะปลูก  โดยพัฒนาแหลงน้ําในไรนาหรือปรับปรุงแหลงน้ําที่มีอยู

                  ตามธรรมชาติ

                         5) เลือกพันธุพืชรากตื้นมาปลูก และพื้นที่ที่ปลูกควรมีหนาดินลึกกวา15 ซม.
   514   515   516   517   518   519   520   521   522   523   524