Page 515 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 515

501



                  การระบายน้ําคอนขางเลวถึงคอนขางดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานชา มีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน

                  ปานกลางถึงเร็ว
                         ดินบนลึกประมาณ 15  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวน ดินรวนปนทราย ปนกอนศิลาแลง สีพื้นเปนสีเทา

                  เขมมาก สีเทาเขมหรือสีน้ําตาลเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-7.0)  ในบางแหงจะพบ

                  กอนศิลาแลง มีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 5-30  ซม. อยูที่ผิวดิน สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปน

                  ทราย ปนกอนศิลาแลง ดินรวนปนกอนศิลาแลง หรือดินรวนปนดินเหนียวปนกอนศิลาแลง สีพื้นเปนสี

                  น้ําตาลหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-6.0) และพบชั้นของกอน
                  ศิลาแลงที่จับตัวกันเปนกอนแข็งๆ ภายในความลึกไมเกิน 50 ซม.จากผิวดิน


                  3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 49.5

                  ตารางที่ 49.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                         CEC         BS          OM        Avai.P    Exch.K    ระดับความอุดม
                      ชุดดิน     pH
                                       cmol /kg      (%)         (%)       (mg/kg)   (mg/kg)      สมบูรณ
                                           c
                   บรบือ        7.18    15.05       50.00        0.59       1.53      36.08         ต่ํา
                   โพนพิสัย     5.56     4.67       32.00        1.80       7.83      100.00        ต่ํา
                   สกล          6.35     3.41       72.40        0.88       0.60      36.30         ต่ํา

                   คามัธยฐาน   6.35     4.67       50.00        0.88       1.53      36.30         ต่ํา


                  สรุป :  จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินชุดตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 49  พบวาความอุดม

                        สมบูรณอยูในระดับต่ํา

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 49 มีศักยภาพคอนขางไมเหมาะสมถึงไมเหมาะสมในการปลูกพืชโดยทั่วไป เนื่องจาก

                  เปนดินตื้นถึงตื้นมาก ถาจะใชปลูกพืชไรตองมีหนาดินบนหนาไมต่ํากวา 15  ซม. และเลือกปลูกเฉพาะพืช

                  รากสั้นเทานั้น เพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกในการใชที่ดินกลุมนี้ตามสมควร จึงจัดชั้นความเหมาะสมของดิน

                  ตามตารางที่ 49.6
   510   511   512   513   514   515   516   517   518   519   520