Page 443 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 443

429



                  เหลานี้จะสลายตัวและปลดปลอยธาตุอาหารอยางชาๆ ทั้งชวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพ

                  ของดินดวย

                          6.3 การจัดระบบการปลูกพืชใหเหมาะสม  เปนวิธีเพิ่มผลผลิตของพืชและผลิตภาพของดิน  ซึ่ง

                  ไดแก 1) การปลูกพืชหมุนเวียนระหวางพืชตระกูลถั่วกับพืชหลัก 2) ปลูกพืชตระกูลถั่วเปนแซมระหวางแถว

                  พืชหลัก และ 3) ปลูกพืชแซมหรือพืชคลุมดินระหวางแถวไมผล การใชระบบการปลูกพืชนี้จะชวยอนุรักษดิน

                  และเพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินดวย  พืชแซมระหวางแถวไมผล ไดแก ถั่วลิสง สับปะรด มะละกอ แตงโม
                  ฯลฯ


                          6.4 การอนุรักษดินและน้ํา   มีความสําคัญสําหรับกลุมชุดดินนี้ เนื่องจาก 1) มีชั้นของลูกรังปะปน

                  ในหนาตัดดินเปนปริมาณมาก และ 2) มีความลาดเทอยูระหวาง 2-30 เปอรเซ็นต หากความลาดเทเกิน 12

                  เปอรเซ็นต จะเกิดการชะลางพังทลายสูง จึงจําเปนตองมีการอนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสม ไดแก
                  1) การปลูกพืชคลุมดิน 2) การปลูกหญาแฝกตามแนวระดับขวางความลาดเท  และ 3) ปลูกพืชตระกูลถั่ว

                  แซมพืชหลัก

                  7. ขอเสนอแนะ


                         กลุมชุดดินที่ 45  มีศักยภาพในการปลูกยางพารา มะมวงหิมพานต ปาลมน้ํามัน มะพราว พืชไร
                  และไมผลชนิดตางๆ เชน ทุเรียน มังคุด ตลอดจนสามารถพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว ดินไมคอยเหมาะสม

                  สําหรับพืชผัก เพราะขาดแหลงน้ํา และไมเหมาะสมในการทํานา  เนื่องดินเก็บกักน้ําไมได อยางไรก็ตาม

                  เพื่อใหการใชประโยชนมีประสิทธิผลสูงสุด  ควรใชระบบเกษตรแบบผสมผสาน คือ ทํากิจกรรมทางการ

                  เกษตรหลายอยางรวมกัน และกิจกรรมเหลานั้นเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เชน การปลูกพืชอาหารสัตวในสวนไม

                  ผล การปลูกพืชอายุสั้นพวก ถั่วตางๆ แตงโม แซมในสวนยางพารา หรือมีการปลูกพืชอื่นๆ รวมกับการเลี้ยง
                  สัตว


                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         8.1.1 ปญหาพื้นที่มีความลาดเทสูง


                         จะตองลดการสูญเสียหนาดินลงโดยวิธีการตางๆ ดังนี้ คือ การปลอยใหมีพืชคลุมดินอาจเปนพวก
                  ถั่วตางๆ หรืออาจใชเศษวัสดุอินทรียตางๆ คลุมดินในบริเวณที่ไมมีการปลูกพืชหลัก  สวนพืชหลัก จะตอง

                  ปลูกเปนแถวที่ขวางความลาดเทของพื้นที่


                         8.1.2 ปญหาดินมีความเปนกรด

                         ใชปูนคารบอเนต(CaCO ) อัตราประมาณ 500 กก./ไร พรวนคลุกกับดินกอนปลูกพืชไมนอยกวา 1
                                              3
                  เดือน
   438   439   440   441   442   443   444   445   446   447   448