Page 442 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 442

428



                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช


                         ในสภาพปจจุบันมีการปลูกยางพารา มะมวงหิมพานต และไมผลชนิดตางๆ  ซึ่งนับวาคอนขาง
                  เหมาะสมในการใชประโยชนอยูแลว อยางไรก็ตามการใชประโยชนกลุมชุดดินที่ 45 ในการปลูกพืชตางๆ มี

                  ปญหาและขอจํากัดดังนี้


                          5.1 ดินตื้น   กลุมชุดดินนี้เปนดินตื้น มีชั้นดินปนกอนกรวดหรือลูกรังมาก รากพืชเจริญเติบโตยาก

                  ผลผลิตจึงต่ํา

                          5.2 การชะลางพังทลายของดินสูง  การที่เปนดินตื้น มีกอนกรวดปะปนในหนาตัดดินมาก และเปน

                  พื้นที่มีความลาดชันสูง หากไมมีการอนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสม จะมีการชะลางพังทลายของหนาดิน

                  มาก

                          5.3 ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  ผลการประเมินความอุดมสมบูรณของดินในแตละชุดดิน พบวา

                  สวนใหญมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                          5.4 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้เปนดินตื้น สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นและ

                  ระดับน้ําใตดินอยูลึก  จึงอาจมีปญหาการขาดแคลนน้ําในระยะที่ฝนทิ้งชวงนาน สวนการพัฒนาแหลงน้ําก็

                  ทําไดยากเนื่องจากสภาพพื้นที่ไมอํานวย  อยางไรก็ตามกลุมชุดดินนี้มักพบในบริเวณที่ฝนตกชุก การขาด

                  แคลนน้ําจึงมีไมบอยครั้งนัก

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช


                         การจัดระบบการใชที่ดินใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่มีดังนี้

                          6.1 เลือกพืชใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และชนิดของดิน   ในปจจุบันเกษตรกรใชดินกลุมนี้ใน

                  การปลูกพืชเศรษฐกิจตางๆ เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน มะมวงหิมพานต และไมโตเร็ว นอกจากนี้ยังใชปลูก

                  พืชไร และพืชสวนบางชนิดเปนพืชแซมระหวางแถวของพืชหลักขณะที่พืชหลักยังเล็ก ซึ่งนับวาเหมาะสมอยู
                  แลว อยางไรก็ตามสภาพดินที่ตื้น อาจเปนขอจํากัดในการปลูกไมผลอยูบาง แตก็สามารถแกไขโดยขุดหลุม

                  ปลูกใหโตกวาปรกติและใสปุยอินทรียมากขึ้น  สวนการทําทุงหญาเลี้ยงสัตวก็นับวาเหมาะกับกลุมชุดดินนี้

                  โดยปลูกหญารวมกับพืชตระกูลถั่ว ซึ่งจะใหผลดีกวาการปลูกหญาเพียงอยางเดียว

                          6.2 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  ดินในกลุมชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณตาม

                  ธรรมชาติต่ํา จึงควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี  สําหรับชนิดและอัตราของปุยเคมีที่ใช จะแตกตางกันตาม

                  ผลการวิเคราะหดินและชนิดของพืช ดังจะไดอธิบายตอไป สวนปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมักหรือปุยคอก

                  นอกจากนี้อาจเศษวัสดุในทองถิ่น เชน ทะลายเปลาปาลมน้ํามัน เปลือกกาแฟ หรือขุยมะพราว ปุยอินทรีย
   437   438   439   440   441   442   443   444   445   446   447