Page 447 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 447

433



                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน ใชปุยสูตร 12-12-17 อัตรา 1 กก./ตน โดย

                  หวานใหทั่วบริเวณทรงพุมแลวใชคราดกลบบางๆ หลังรดน้ํา

                         9.3.2 ทุเรียน   ทุเรียนอายุ 1 ป ใหปุยหมัก หรือปุยคอก อัตรา 5 กก./ตน ทุเรียนปตอๆ มาซึ่งอยู

                  ในชวงยังไมใหผลผลิต โดยชวงตนฝนควรใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 3 กก./ตน และชวงปลายฤดูฝนใชปุย

                  หมัก หรือปุยคอก 5-50 กก./ตน รวมดวยปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน ทุเรียนใหผลผลิตแลว แบงการ

                  ใหปุยเปน 2 ระยะ คือ 1) ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต และตัดแตงกิ่งแลวควรใหปุยหมัก หรือปุยคอก รวม
                  ดวยปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 15-50 และ3 กก./ตนตามลําดับ  2) ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-24

                  อัตรา 2 กก./ตน โดยใหปุยหลังจากที่ฝนทิ้งชวง


                         9.3.3 ยางพารา  ยางพารากอนเปดกรีดแบงการใหปุยออกเปน 2 ระยะ คือ 1) ปุยรองกนหลุม ใช

                  ปุยหินฟอสเฟต(0-3-0) อัตรา 170 กรัม/หลุม รวมกับการใชปุยอินทรียในอัตรา 5 กก./ตน/ป ในชวงปแรก
                  และในชวงปที่ 2 ถึง 6 ใหใชปุยอินทรียในอัตรา 2 กก./ตน/ป 2) ปุยบํารุง แนะนําใหใชปุยสูตร 20-8-20 ใน

                  อัตราแตกตางกันตามอายุ คือ ใชในอัตรา 300 กรัม/ตน/ป ในปที่ 1 และใชในอัตรา 450, 460, 480, 520

                  และ 540 กรัม/ตน/ป ในปที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 ตามลําดับ

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 45  มีสภาพดินตื้น เนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนกอนกรวดหรือลูกรัง

                  มาก ในระดับความลึก 50  ซม.  เกิดจากการสลายตัวและผุพังอยูกับที่ของหินเนื้อละเอียด หรือเกิดจาก

                  ตะกอนน้ําเกา  บนสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงดี  ความอุดม

                  สมบูรณตามธรรมชาติต่ํา

                         กลุมชุดดินมีความเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจทั่วๆ ไป เชน ยางพารา  ไมโตเร็วปาลมน้ํามัน

                  มะพราว พืชไร และพืชสวน ไมคอยเหมาะสมสําหรับไมผลทั่วไป ปญหาในการใชประโยชนของกลุมชุดดินนี้

                  คือ เปนดินตื้น  บางบริเวณสภาพพื้นที่มีความลาดเทสูง ความอุดมสมบูรณต่ํา  มีโอกาสขาดแคลนน้ําใน

                  ระยะฝนทิ้งชวง และอาจเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินมากในที่มีความลาดเทสูง  จึงควรจัดการดิน

                  อยางถูกตอง เชน มีการอนุรักษดินและน้ํา  โดยในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันนอยกวา 12 เปอรเซ็นต  โดยการ
                  ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชตามแนวระดับ สวนพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันมากกวา 12 เปอรเซ็นต จําเปนตองใชวิธี

                  กล เชน การทําขั้นบันไดดิน ทําคันคูรับน้ํา  นอกจากนี้ยังตองปรับปรุงดินดวยปุยอินทรียและปุยเคมี ปลูกพืช

                  หมุนเวียนและทําปุยพืชสด พืชซึ่งแนะนําใหปลูกในที่มีความลาดชันนอย ไดแก พืชไรและหญาเลี้ยงสัตว

                  สวนในที่มีความลาดชันสูง ควรปลูกยางพารา ไมเลื้อย ไมโตเร็ว ปาลมน้ํามัน ควรมีการพัฒนาแหลงน้ําในไร
                  นา เชน อางเก็บน้ําขนาดเล็ก การใชพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุดควรเนนการเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลูก

                  พืชไร ไมผล ไมยืนตน ยางพารา หญาเลี้ยงสัตว ควบคูกันไปในพื้นที่
   442   443   444   445   446   447   448   449   450   451   452