Page 397 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 397

383



                         -อายุ 5 ป ใสปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 5 กก./ตน และปุยแมกนีเซียมซัลเฟต 1,000 กรัม/ตน

                         การใสปุยเคมีใหแกมะพราวในแตละป ควรใสปุย 2-3  ครั้ง โดยแบงใสครั้งๆ ละ  เทาๆ กันในระยะ
                  ตนฤดูฝนและปลายฤดูฝน

                         6.2.4 การปลูกหญาเลี้ยงสัตวผสมถั่ว

                         การเตรียมดินปลูก  ควรดําเนินการชวงตนฤดูฝน  โดยการไถดินคลุกเคลากับปุยอินทรียหรือดินพรุ

                  หมักดวยปูนขาว 16 กก./ดินพรุ 1 ตัน ในอัตรา 3-5 ตัน/ไรพรอมกับหวานปุยหินฟอสเฟต ในอัตรา 50-100

                  กก./ไร แลวปรับหนาดินใหเรียบ
                         พันธุหญาที่แนะใหปลูกไดแก  หญารูซี่ หญากินนี หญาเฮมิล หญาซิกแนลหรือหญาเนเปย ปลูก

                  รวมกับพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วเกรแฮมสไตโล ถั่วฮามาตา เซนโตรซิมา หรือซิราโตร

                         การปลูกหญาสามารถดําเนินการไดปลายแบบ เชน การโรยเมล็ดเปนแถวการหวาน  และการใช

                  ทอนพันธุ การปลูกเปนแถวควรใหแถวหางกัน 30-50  ซม. ควรหยอดหญา 2  แถวสลับถั่ว 1  แถว หรือให

                  หวานถั่วลงไปเลยระหวางแถวหญาก็ได เมล็ดหญาที่หยอดไมควรอยูลึกเกิน 1 ซม. และเมื่อหยอดแลวควร
                  กลบดวยดิน

                         การปลูกดวยวิธีหวาน เปนวิธีงาย และกําจัดวัชพืชยาก การหวานควรดําเนินการขณะที่ดินชื้น ควร

                  หวานรวมกันทั้งเมล็ดหญาและถั่วในคราวเดียวกัน ในอัตราอยางละ 2-3 กก./ไร

                         การปลูกดวยทอนพันธุ  ใหผลดีที่สุด แตใชแรงงานมาก จึงเหมาะกับหญาแปลงเล็กๆ ระยะปลูกที่
                  เหมาะสม คือ 30-50 x 25-50 ซม. หลังปลูกหญาแลวใหหวานเมล็ดถั่วลงระหวางแถวหญา

                         การใสปุยมีความจําเปนมากสําหรับดินกลุมนี้เนื่องจากดินเปนทรายจัดและมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                  นอกจากใสปุยอินทรียตามที่กลาวแลว ควรใสปุยสูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16  อัตรา 30  กก./ไร โดยแบง

                  ใส 2 ครั้ง ครั้งแรกควรใสหลังหญางอก 2 สัปดาห ในอัตรา10 กก./ไร และครั้งที่สองใสหลังตัดหญาครั้งแรก
                  ในอัตรา 20  กก./ไรหลังจากตัดหญาทุกครั้งใหใสปุยยูเรียในอัตรา 10  กก./ไร  แตหากมีการปลูกถั่วรวมกับ

                  หญาในอัตราสวนที่เหมาะสมก็ไมจําเปนตองใสปุยยูเรีย แตควรหวานปุยทริปเปลซุปเปอรฟอสเฟต(0-46-0)

                  อัตรา 20 กก./ไร ในเดือนพฤษภาคม ของทุกปเพื่อเปนปุยสําหรับถั่ว


                          6.3  ทํารองระบายน้ํา  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีชั้นดานอินทรียอยูในดินชั้นลาง น้ําจึงซึมผานลงไป
                  ไมได ดังนั้นเมื่อฝนตกน้ําจะขังแชในดินชั้นลาง จําเปนตองแกไขโดยการทํารองระบายน้ํา


                          6.4 ปรับปรุงหนาดินโดยการขุดและถมหนาดิน  แลวนําดินหรือหนาดินจากที่อื่นมาถม ใหมี

                  ความหนาพอที่จะปลูกพืชชนิดตางๆ ได

                          6.5  เลือกพันธุพืชที่เหมาะสม  ซึ่งมีระบบรากพืชตื้น และสามารถขึ้นไดในดินทรายที่มีความอุดม

                  สมบูรณต่ํา

                          6.6 การจัดการน้ํา  เนื่องจากดินอุมน้ําไดนอย การใหน้ําแกพืชควรใชระบบน้ําหยดหรือแบบฉีดฝอย
   392   393   394   395   396   397   398   399   400   401   402