Page 399 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 399

385



                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน ใชปุยสูตร 12-12-17อัตรา 1 กก./ตน โดย

                  หวานใหทั่วบริเวณทรงพุมแลวใชคราดกลบบางๆ หลังรดน้ํา

                         9.1.2 ทุเรียน   ทุเรียนอายุ 1 ป ใหปุยหมัก หรือปุยคอก อัตรา 5 กก./ตน ทุเรียนปตอๆ มาซึ่งอยู

                  ในชวงยังไมใหผลผลิต โดยชวงตนฝนควรใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 3 กก./ตน และชวงปลายฤดูฝนใหปุย

                  หมัก หรือปุยคอก 5-50 กก./ตน รวมดวยปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน  ทุเรียนใหผลผลิตแลว แบงการ

                  ใหปุยเปน 2 ระยะ คือ 1) ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต และตัดแตงกิ่งแลวควรใหปุยหมัก หรือปุยคอก รวม
                  ดวยปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 15-50 และ3 กก./ตนตามลําดับ 2) ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-24

                  อัตรา 2 กก./ตน โดยใหปุยหลังจากที่ฝนทิ้งชวง


                         9.1.3 มังคุด   มังคุดชวงยังไมใหผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน แบงใส 2 ครั้ง คือ

                  ตน และปลายฤดูฝน มังคุดใหผลผลิตแลวแบงการใหปุยเปน 4 ระยะ คือ  1)ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ใช
                  ปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 3 กก./ตน รวมดวยปุยคอกที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 2-3 ปบ/ตน กอนใหปุยควรขุด

                  หลุมเปนระยะรอบทรงพุมจากนั้นหยอดปุยลงในหลุมแลวจึงกลบปดปากหลุม  2)ระยะกอนออกดอกควรใช

                  ปุยสูตร 12-24-12 หรือ 8-24-24 อัตรา 3 กก./ตน โดยใหปุยชวงปลายฝน 3)ระยะดอกบาน และเริ่มติดผล
                  เล็ก ใหปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 2 กก./ตน และ 4) เมื่อผลมีอายุ 4-5 สัปดาห ใชปุยสูตร13-13-21 อัตรา 2

                  กก./ตน โดยหวานรอบทรงพุมแลวคราดกลบบางๆ


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 42  ประกอบดวยชุดดินบานทอนหรือชุดดินอื่นที่มีลักษณะคลายกัน เกิดจากการทับ

                  ถมของตะกอนน้ําทะเล พบบริเวณหาดทรายเกาหรือสันทรายชายทะเล  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเปนลูก

                  คลื่นลอนลาด พบในภาคใตและตะวันออก  เนื้อดินเปนทรายจัด  พบชั้นดานอินทรียเกิดขึ้นในหนาตัดดิน
                  สวนลาง ในชวงความลึก 1 เมตรจากผิวดินเปนสวนใหญ ชั้นดานดังกลาวจะจับตัวแข็งในฤดูแลง รากพืชจึง

                  ชอนไชผานไมได สวนฤดูฝนจะมีน้ําขังแฉะเหนือชั้นดานนี้


                         กลุมชุดดินนี้ใชประโยชนทางการเกษตรไดนอย  เนื่องจากมีปญหาหลายอยาง เชน เนื้อดินเปน

                  ทรายจัด ความอุดมสมบูรณต่ํามาก มีชั้นดินดานในหนาตัดดิน และขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก อยางไร
                  ก็ตามอาจพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว และการปลูกไมผลหรือไมยืนตนบางชนิด
   394   395   396   397   398   399   400   401   402   403   404