Page 380 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 380

366




                  ตารางที่ 41.3 (ตอ) การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 41 ในจังหวัดตางๆ

                           ภาค           เขตพัฒนาที่ดิน            จังหวัด                     เนื้อที่ (ไร)

                   ใต                        12                   พัทลุง                      2,484.10

                                                                   สงขลา                      27,453.06

                                                 รวมทั้งสิ้น                               6,499,061.61


                  2. การจําแนกดิน


                         ชื่อชุดดิน(soil series)  และการจําแนกระดับวงศ(soil family) ในกลุมชุดดินที่ 41  ตามระบบ
                  อนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy) แสดงไวในตารางที่ 41.4


                  ตารางที่ 41.4 การจําแนกดินระดับวงศดิน


                      ชุดดิน(soil series)   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1975   การจําแนกระดับวงศดิน ป 1998
                   คําบง                 sandy , siliceous               sandy, siliceous,

                   (Khambong series: Kg)   Ultic Paleustalfs             isohyperthermic
                                                                         Typic Haplustalfs


                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและชุดดินในกลุมชุดดินที่ 41

                          3.1 ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 41 เปนดินลึกมาก ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                  สีน้ําตาลเขมมากหรือน้ําตาลเขม สวนดินชั้นลางในตอนบนจะเปนดินทรายปนดินรวน(loamy sand)  เปน

                  ชั้นหนาและจะคอยเปลี่ยนเปนดินรวนปนทราย ดินรวนเหนียวปนทรายในชั้นลางลึก สีน้ําตาล บางพื้นที่พบ

                  จุดประสีน้ําตาลแกหรือน้ําตาลปนเหลืองในปริมาณไมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง(pH 7.0-

                  8.0) ตลอดหนาตัดของดิน มีความอุดมสมบูรณต่ําถึงปานกลาง

                          3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 41

                         3.2.1 ชุดดินคําบง (Khambong series: Kg)

                         จัดอยูใน sandy, siliceous, isohyperthermic Typic Haplustalfs เกิดจากการทับถมของตะกอน

                  ลําน้ําเกา ในบริเวณลานตะพักลําน้ําระดับสูง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาด
                  ชัน 2-6  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดี ดินอุมน้ําไดคอนขางต่ํา ความสามารถให

                  น้ําซึมผานไดเร็ว การไหลบาของน้ําบนผิวดินอยูในอัตราปานกลาง

                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย หรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลเขมมาก

                  หรือสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-7.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย

                  ถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง(pH 6.5-8.0)
   375   376   377   378   379   380   381   382   383   384   385