Page 370 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 370

356



                         8.1.3 ปญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางชนิด

                         ใหใสปุยเคมี ชนิดปุย อัตรา และวิธีการใสปุยจะขึ้นอยูกับชนิดพืชที่ปลูก และผลการวิเคราะหดินที่

                  แสดงไวในตารางที่ 40.5 ดวย

                          8.2 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชผัก


                         8.2.1 กะหล่ําดอก  แปลงเพาะกลา และแปลงปลูกขุดดินลึก 15 และ 20 ซม.ตามลําดับ ตากดิน

                  7-10 วัน เก็บวัชพืชใหหมดพรวนดินเปนกอนเล็กๆ ใสปุยคอก หรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลวคลุกเคลาใหทั่ว

                  แปลง และมีระยะปลูกระหวางตน และแถวหาง 50 และ 60 ซม.ตามลําดับ

                         8.2.2 พริก  แปลงปลูกและแปลงเพาะกลาควรไถดินลึก 20-25  และ 15 ซม.ตามลําดับ แลวตาก

                  ดินไว 5-7 วัน ใสปุยคอก หรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว 3-4 ตัน/ไร พรวนยอยชั้นผิวหนาดิน จากนั้นใสปุย
                  สูตร 15-15-15 อัตรา 100-200 กรัม/ตร.ม. พรวนกลบดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน


                         8.2.3 มะเขือเทศ  ไถดินลึก 30-40  ซม.  ตากดินไวประมาณ 7  วัน แลวไถพรวนอีก 1-2  ครั้ง รูปแปลง

                  ขึ้นกับชนิดพันธุ เชน พันธุทอดยอดตองการคาง ใชไมคางใหปลูกตนเดียวตอหลุม ระยะหางระหวางตน และ

                  แถว 30-45 และ 75-90 ซม.ตามลําดับ สวนพันธุพุมนิยมปลูกบนแปลงลูกฟูก ระยะปลูกตนเดียวตอหลุม ใช
                  ระยะหางระหวางตน และแถว 45-60  และ 75-90  ซม.ตามลําดับ ใสปุยรองพื้นตามแนวแถวหรือแนวรองที่

                  ปลูกแลวพรวนกลบ หรือใสผสมลงในหลุมปลูก และคลุกเคลาปุยเขากับดินใหดี พยายามใหปุยอยูขางใต

                  หางจากรากตนกลา 10-15 ซม.

                          8.3 การเตรียมดินสําหรับปลูกไมผล และไมยืนตน


                         8.3.1 มะขาม  เตรียมหลุมปลูกขนาด 60x60x60  ซม. ดินที่ขุดขึ้นมาใหแยกชั้นบนและลางไวคนละกอง
                  ตากดินและหลุมไว 15-20 วัน  ผสมดินลางกับปุยหมักหรือปุยคอกในอัตราสวน 2:1 จากนั้นกลบดินชั้นบน

                  ลงในหลุมแลวตามดวยดินชั้นลาง ควรกลบดินใหสูงกวาขอบปากหลุมเดิมเผื่อการยุบตัวหลังจากรดน้ํา หรือ

                  ฝนตก ชวยใหไมเกิดแองรอบโคนตน

                         8.3.2 มะมวง  ปรับพื้นที่ใหราบหรือคอนขางราบ ถาพื้นที่ลาดเอียงเกิน 12 องศา ใหปรับพื้นที่เปน

                  ขั้นบันได ไถดินดวยไถผาลสามจํานวน 2 ครั้ง พรวนดวยไถผาลเจ็ด 1-2 ครั้ง แตละครั้งมีชวงตากดิน

                  7-14 วัน แลวคราดเก็บเศษวัชพืชขามปออกจากแปลง  ระยะปลูกระหวางตน x  ระหวางแถว เทากับ 4x6 เมตร

                  หรือ 5x7 เมตร หรือ 6x8 เมตร หลุมปลูกในพื้นที่อุดมสมบูรณควรมีขนาด 50x50x50 ซม.สวนหลุมปลูกใน

                  พื้นที่อุดมสมบูรณปานกลางควรมีขนาด 70x70x70 ซม. และใชวัสดุปรับปรุงดินเพิ่มมากขึ้น

                         8.3.3 มะละกอ  ขุดหลุมปลูกขนาดกวางและลึกประมาณ 30 ซม.  ผสมดินกับปุยคอกเขาดวยกัน

                  และเพิ่มปุยหินฟอสเฟต 0.2 กก./หลุม เขาดวยกัน กลบลงหลุมใหสูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม ทํารมเงา
   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374   375