Page 368 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 368

354



                          5.4 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  เนื่องจากบริเวณพื้นที่ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 40 ไมมีระบบชลประทาน

                  เขาถึง การเพาะปลูกตองอาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียว ดังนั้นในฤดูแลงจึงไมสามารถเพาะปลูกพืชไดเพราะ
                  ขาดแคลนน้ํา


                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การปรับปรุงสมบัติดานกายภาพ  โดย 1) ใชปุยอินทรีย  ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา

                  ประมาณ 2  ตัน/ไร  หรือ 2) ทําปุยพืชสดโดยปลูกพืชตระกูลถั่วกอนปลูกพืชหลัก 2  เดือน  แลวไถกลบเพื่อ

                  บํารุงดิน เมื่อพืชปุยสดนั้นออกดอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต การปฏิบัติดังกลาวเปนประจําทุกปจะชวยเพิ่ม

                  อินทรียวัตถุใหแกดิน ทําใหอนุภาคดินเกาะตัวกันเปนเม็ดดินและกอนดินมากขึ้น มีสัดสวนของชองขนาด
                  เล็กและใหญในโครงสรางดินที่เหมาะสม ความชื้นที่เปนประโยชนในดินจึงสูงขึ้น


                          6.2 การอนุรักษดินและน้ํา  มีความจําเปนสําหรับดินกลุมนี้มาก โดยเฉพาะในบริเวณที่มีความลาด

                  เทสูงกวา 5 เปอรเซ็นต ซึ่งเกิดการชะลางพังทลายของดินไดงาย ดังนั้นจึงตองใชมาตรการอนุรักษดินและน้ํา

                  ในพื้นที่เพาะปลูกอยางเหมาะสม ไดแก
                         6.2.1  ใชวัสดุคลุมดิน  เชน ฟางขาวหรือเศษพืช ตางๆ เพื่อปองกันไมใหเม็ดฝนกระแทกผิวดิน

                  โดยตรง และชวยรักษาความชื้นโดยลดการระเหยน้ําจากผิวดินในฤดูแลง นอกจากนี้เมื่อวัสดุคลุมดิน

                  สลายตัวยังเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดินดวย

                         6.2.2 ปลูกพืชคลุมดิน เชน ปลูกพืชตระกูลถั่วหรือหญาคลุมดิน ในสวนไมผลหรือไมยืนตน จะชวย
                  ปองกันการสูญเสียหนาดินจากการชะลางพังทลายไดเปนอยางดี

                         6.2.3  สรางสิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้ําบนผิวดินเมื่อฝนตกหนัก เชน ทําคันดิน  คันเบนน้ํา

                  รองระบายน้ํา  บอดักตะกอนหรือบอน้ําประจําไรนา อันเปนมาตรการเชิงกล หรือใชวิธีทางพืช เชน ปลูกพืช

                  เปนแถบขวางความลาดเทของพื้นที่ หากใชทั้งสองวิธีนี้รวมกันใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ จะชวยลด
                  อัตราเร็วการไหลบาของน้ําผิวดิน และปองกันการชะลางพังทลายของดินไดอยางมีประสิทธิภาพ


                          6.3 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน ควรดําเนินการดังตอไปนี้

                         6.3.1  ใชปุยอินทรีย  ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมักอัตราประมาณ 2  ตัน/ไร หรือปลูกพืชปุยสดแลวไถ

                  กลบลงไปในดิน เมื่อปุยอินทรียเหลานี้สลายตัว จะปลดปลอยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุ
                  ใหแกพืชอยางชาๆ นอกจากนี้ยังชวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดินใหดีขึ้นอีกดวย

                         6.3.2  ปลูกพืชหมุนเวียน โดยใหมีพืชบํารุงดิน คือ พืชตระกูลถั่ว อยูในระบบการปลูกพืชหมุนเวียน

                  กับพืชหลัก เชน พืชไรหรือพืชผัก  นอกจากนี้ยังอาจใชวิธีปลูกพืชแซม กลาว คือ ปลูกพืชตระกูลถั่วแซม

                  ระหวางแถวไมผลหรือไมยืนตน ซึ่งจะชวยปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินและกอใหเกิดรายไดเสริมดวย
   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373