Page 369 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 369

355



                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมดินชุดดินที่ 40 มีศักยภาพไมคอยเหมาะสมในการปลูกพืชไร พืชผักและไมยืนผลเปนสวนใหญ

                  และไมเหมาะสมสําหรับการทํานา เนื่องจากเนื้อดินคอนขางเปนทรายจึงเก็บกักน้ําไมได และสภาพพื้นที่ก็

                  ไมอํานวย การใชประโยชนที่เหมาะสม คือ พัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว หรือปลูกไมยืนตน เชน ยูคาลิปตัส

                  กระถินยักษ กระถินเทพา ไผตง และมะมวงหิมพานต เปนตน อยางไรก็ตามกลุมชุดดินนี้ยังเหมาะสมในการ
                  ปลูกพืชไร และไมผลบางชนิด  สําหรับพืชไรที่ควรปลูก ไดแก มันสําปะหลัง ออย ถั่วลิสง ถั่วพุม ปอแกว งา

                  และสับปะรด แตจําเปนตองมีการใชปุยทั้งปุยอินทรียและปุยเคมีควบคูกัน เพื่อปรับปรุงความอุดมสมบูรณ

                  ของดิน

                         การใชประโยชนที่มีประสิทธิภาพสูง คือ ทําการเกษตรแบบผสมผสานระหวางการเลี้ยงสัตว ปลูกไม

                  โตเร็ว  และการปลูกพืชไรบางชนิดควบคูกัน  โดยดําเนินการใน 3 เรื่องหลัก คือ 1) การพัฒนาแหลงน้ํา 2) การ

                  ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน และ 3) การอนุรักษดินและน้ํา สําหรับการพัฒนาทุงหญาเลี้ยงสัตวนั้น

                  ควรเปนแบบหญาผสมถั่ว พันธุหญาที่แนะนํา ไดแก หญาขน หญากินนี หญาโรด หญาเนเปยลูกผสม หญา

                  เฮมิลกินนี หญาบัฟเฟล และหญาซิกแนลเปนตน สวนพืชตระกูลถั่วที่จะนํามาปลูกผสมกับหญา ควรเปนถั่ว
                  ฮามาตา ถั่วเชอราโต ถั่วสไตโล ถั่วลาย หรือถั่วคุดซู


                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         8.1.1 ปญหาการชะลางพังทลาย


                         1) ใชวัสดุคลุมดิน เชน ฟางขาว หรือเศษพืชตางๆ เพื่อปองกันไมใหเม็ดฝนที่ตกลงมากระทบผิวดิน
                  โดยตรง


                         2) ไถพรวนดิน และปลูกพืชไรขวางความลาดเทของพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการลาดเทเกิน 5

                  เปอรเซ็นต

                         3) สรางสิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้ําผิวดินเมื่อฝนตกหนัก เชน คันดิน รองระบายน้ํา คันเบน

                  น้ํา บอดักตะกอน หรือบอน้ําประจําไรนา

                         4) ปลูกแถบหญา เชน หญาแฝก สลับกับพืชที่ปลูกเปนแถวขวางความลาดเทของพื้นที่


                         8.1.2 ปญหาดินเปนทรายคอนขางจัดและมีความสามารถในการอุมน้ําต่ํา

                         ใหใสปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอก ปุยหมัก หรือปุยเทศบาล อัตรา 2-3 ตัน/ไร หรือปลูกปุยพืชสด แลว

                  ไถกลบลงดินเมื่อปุยพืชสดมีอายุ 40-50 วัน หรือออกดอกไดประมาณ 50 เปอรเซ็นต ปุยพืชสดที่แนะนํา

                  ไดแก ปอเทือง ถั่วพุม ถั่วดํา โสนตางๆ
   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374