Page 364 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 364

350



                         ดินบนลึกไมเกิน 15  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายรวนสีพื้นเปนสีน้ําตาลปนเทา

                  หรือน้ําตาลแก จะมีเกล็ดของไมกาปะปนเล็กนอย ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0 - 6.5) ดิน
                  บนตอนลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหยาบ หรือดินทรายรวน จะพบจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองเล็กนอย

                  มีหินควอรตไซตปะปนอยูมาก สวนดินลางเปนดินรวนปนทรายหยาบ หรือดินทรายหยาบรวน มีสีน้ําตาล

                  ออน และจะมีเกล็ดไมกาปะปนอยูมาก ถัดจากชั้นนี้ลงไปจะเปนดินรวนทรายปนกรวด สีน้ําตาลปนเทา

                  ปฏิกิริยาของดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5)

                         3.2.3 ชุดดินสันปาตอง (San Pa Tong series: Sp)

                         จัดอยูใน coarse-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults เกิดจาก

                  การทับถมของตะกอนเกาจากลําน้ํา สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 1-2
                  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ําดี ดินมีความสามารถในการใหน้ําซึมผานปานกลาง ถึงดีมี

                  การไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว

                         ดินบนลึกไมเกิน 30 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึง

                  กรดเล็กนอย(pH 6.5-7.0) สวนดินลางเปนดินรวนปนทราย มีจุดประสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินกลางถึงกรด

                  เล็กนอย(pH 6.5-7.0)

                         3.2.4 ชุดดินยางตลาด (Yang Thalat series: Yl)

                         จัดอยูใน coarse-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic, Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs เกิด
                  จากการทับถมของตะกอนจากลําน้ําเกา บนตะพักลําน้ําระดับกลาง สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะคอนขาง

                  ราบเรียบจนถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 1-5 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึก มีการระบายน้ําดีถึง

                  คอนขางมาก ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานเร็วปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง

                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนทรายปนดินรวน สีพื้นเปนสีเขมมากของน้ําตาลปน
                  เทา สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนดางเล็กนอยถึงกรดจัด(pH 5.5-7.5)  ดินบนตอนลาง

                  คอนขางลึกประมาณ 40 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายสีพื้นเปนสีน้ําตาลเขมถึงน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปน

                  ดางเล็กนอยถึงกรดจัด(pH 5.5-7.5) สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวนสีพื้น

                  เปนสีจางของน้ําตาลปนแดงน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนน้ําตาลปฏิกิริยาดินเปนดางเล็กนอยถึงกรดจัด
                  (pH 5.5-7.5)


                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368   369